-
5 เยาวชนนักเคลื่อนไหวที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับเรา
เยาวชนเหล่านี้ต่างทำให้ผู้นำระดับโลกต้องละอายใจ เมื่อพูดถึงเรื่องความมุ่งมั่นในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
-
ปีใหม่ แนวคิดใหม่ – LOW IMPACT LIVING
แล้วเวลาก็ผ่านอีก 1 ปี หลายสิ่งหลายอย่างได้เกิดขึ้นที่ทำให้ทุกคนตั้งตารอการเริ่มต้นใหม่ในปีใหม่ที่จะมาถึงนี้ เราต่างก็รอคอยปีใหม่เพื่อการเริ่มต้นใหม่ที่เต็มไปด้วยความหวังท่ามกลางวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ปีนี้เราจึงนำเสนอแนวคิดใหม่เพื่อให้ทุกคนได้เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง
-
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกี่ยวข้องอย่างไรกับสิทธิมนุษยชน
ภาพวาดบนกำแพงในเมืองโจฮันเนสเบิร์กแสดงให้ถึงการเข้าถึงแหล่งน้ำที่สะอาดคือสิทธิที่มนุษย์ทุกคนควรได้รับ © Victor Sguassero
-
3 ประเด็นสิ่งแวดล้อมปี 2561 ที่ไม่ควรพลาด
ปี พ.ศ.2561 มีเรื่องราวด้านสิ่งแวดล้อมมากมายเกิดขึ้นในไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทั่วโลก และนี่คือ 3 เรื่องที่ไม่ควรพลาดในมุมมองของเรา
-
5 ข้อต้องรู้! หากโลกร้อนขึ้น 1.5 องศาเซลเซียส
เป็นระยะเวลากว่า 3 ปีแล้วที่รัฐบาลจากหลากหลายประเทศเข้าร่วมประชุมที่จัดขึ้นที่ปารีสเพื่อลงความเห็นว่าไม่เพียงแค่วางแผนจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแต่ยังจะต้องพยายามรักษาอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกไม่ให้เพิ่มมากไปกว่า 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม จากเป้าหมาย 2 องศาเซลเซียสที่เคยวางไว้
-
มหาพายุหมุนเขตร้อนในโลกเรือนกระจก
พายุมังคุดเริ่มก่อตัวเป็นพายุไต้ฝุ่นวันที่ 9 กันยายน 2561 ในมหาสมุทรแปซิฟิก พายุสร้างความเสียหายให้กับโครงข่ายไฟฟ้าเกือบทั้งหมดของเกาะกวม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกาในวันที่ 13 กันยายน จากนั้นทวีความรุนแรงขึ้นเป็นมหาพายุไต้ฝุ่นโดยมีความเร็ว 205 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ศูนย์กลางที่เรียกว่าตาของพายุกว้าง 50 กิโลเมตร ขนาดของพายุวัดเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบ 900 กิโลเมตร มุ่งตรงไปยังเกาะลูซอนด้านเหนือสุดของฟิลิปปินส์ในพื้นที่ที่เป็นอู่ข้าวอู่น้ำแถบจังหวัดคากายัน (Cagayan) โดยความเร็วลมเพิ่มขึ้นเป็น 269 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากนั้นข้ามทะเลจีนใต้เข้าถล่มฮ่องกงและมณฑลกวางตุ้งของจีนแผ่นดินใหญ่ สร้างผลกระทบและความเสียหายต่อผู้คนนับล้านที่อยู่อาศัยบริเวณชายฝั่งทะเลตามแนวเส้นทางของพายุไต้ฝุ่นมังคุดลูกนี้
-
เมื่อพลาสติกไม่เพียงแต่ทำลายมหาสมุทร หากยังปล่อยก๊าซเรือนกระจก
Sarah-Jeanne Royer นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาวาย พร้อมทีมวิจัย พบว่าพลาสติกที่กำลังย่อยสลายสามารถปล่อยก๊าซเรือนกระจกชนิดใหม่ที่ทำลายชั้นบรรยากาศโลก
-
คุณจะรู้สึกอย่างไรเมื่อเห็นปะการังและวิถีชีวิตของคุณถูกเหยียบย่ำ
ครั้งแรกที่ผมได้เรียนรู้วิธีตกปลาคือเมื่อผมยังเด็ก พ่อแม่เป็นคนสอนผม และพวกเขาบอกว่าเกาะการิมุนชวา ของเรา เป็นสถานที่ที่ดีที่สุดสำหรับปลาอย่างแน่นอนเพราะอยู่ระหว่างเกาะชวาและเกาะบอร์เนียว ที่ทะเลมีความอุดมสมบูรณ์และปลาชุกชุม
-
มลพิษพลาสติกไปถึงแอนตาร์กติก
ข่าวด่วน: นักวิทยาศาสตร์ของกรีนพีซค้นพบพลาสติกและสารเคมีอันตรายในภูมิภาคแอนตาร์กติก
-
เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์เข้าร่วมขบวนเรือประมงพื้นบ้านในตือโละปาตานี ประกาศเจตนารมย์หยุดถ่านหิน
วันนี้เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ ซึ่งเป็นเรือสัญลักษณ์ของกรีนพีซ เดินทางมาถึงตือโละปาตานี