-
กรีนพีซผ่านภาพจำของเร็กซ์ เวย์เลอร์ ผู้ร่วมก่อตั้ง
ตั้งแต่ปี 2517 ถึงปี 2525 ผมได้รับหน้าที่เป็นช่างภาพในงานรณรงค์ของกรีนพีซ และภาพชุดต่อไปนี้คือเรื่องราวหลายปีที่กรีนพีซได้สร้างขึ้น
-
หนุ่ม กฤษณะ ศรีถนอมวงศ์ ชาวสุราษฎร์สู่การเดินทางรอบโลกเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม
เรื่องราวของหนุ่มใต้คนหนึ่งตัดสินใจการกระโดดลงเรือของกรีนพีซ ผจญภัยไปยังนานาประเทศ เพื่อเป็นแนวหน้าในการขับเคลื่อนงานรณรงค์ สู่ชายวัยกลางคนที่มุ่งมั่นทำงานด้านสิ่งแวดล้อมกว่า 20 ปี
-
ประชากร 61 เมืองใหญ่ทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากถ่านหิน
รายงานจากเครือข่าย C40 Cities Climate Leadership Group ระบุว่าจากแบบจำลองและวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของถ่านหินต่อสุขภาพของประชากรในเมืองใหญ่ใน 61 เมืองทั่วโลกในช่วงปี 2563-2573
-
24 องค์กรภาคประชาสังคมเรียกร้องชาติอาเซียนปกป้องสิทธิมนุษยชนของแรงงานประมงข้ามชาติ
รายงานล่าสุดจากความร่วมมือของ 24 องค์กรภาคประชาสังคมเผยหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลด้านสิทธิมนุษยชน แรงงานข้ามชาติ และป้องกันอาชญากรรมของชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังล้มเหลวในการปกป้องแรงงานประมงข้ามชาติที่ทำงานบนเรือประมงในน่านน้ำสากล
-
ผู้หญิงกับการต่อสู้ทางนิเวศวิทยา
ดร.แวนดาน่า ชีวา ได้ตีพิมพ์คำปราศรัยสั้น ๆ ที่พูดถึงเรื่องความเชื่อมโยงระหว่างการล่าอาณานิคมกับผู้หญิง เธอกล่าวว่า "ความมั่นคงทางอาหารและการปกป้องเมล็ดพันธุ์พื้นเมืองเป็นรากฐานสำคัญที่ปลดปล่อยสตรีทั่วโลก"
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน : เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การใช้ถ่านหินนำเข้าในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการใช้ถ่านหินในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับภาคการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 23 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 39 ในปี 2562
-
เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การนำเข้าถ่านหินมายังประเทศไทยเพิ่มปริมาณขึ้นในช่วงกลาง คริสตทศวรรษที่ 1990 โดยมีปริมาณสูงกว่าการใช้ถ่านหินทั้งหมดภายในประเทศนับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา ในปี 2562 ไทยนำเข้าถ่านหินในปริมาณ 21.7 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 60.8 ของการใช้ถ่านหินทั้งหมด 35 ล้านตันในปีนั้น
-
กรีนพีซวิเคราะห์สถานการณ์มลพิษทางอากาศตามค่าแนะนำคุณภาพอากาศใหม่ขององค์การอนามัยโลก
วันนี้องค์การอนามัยโลก (WHO) ปรับค่าแนะนำคุณภาพอากาศเป็นครั้งแรกในรอบ 15 ปี จากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ อินเดีย โดยใช้ข้อมูลจาก IQAir ชี้ให้เห็นว่า ในปี 2563 มลพิษทางอากาศเมืองใหญ่ทั่วโลก ส่วนใหญ่มีความเข้มข้นเกินค่าแนะนำขององค์การอนามัยโลก
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
ดาวน์โหลดเอกสาร ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
-
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก