-
“เพราะความทรงจำเกี่ยวกับระเบิดปรมาณูกำลังเลือนราง ผมจึงต้องส่งผ่านความทรงจำเหล่านั้นสู่คนรุ่นต่อไป” ฮาราดะ ฮิโรชิ ชายผู้รอดชีวิตจากโศกนาฏกรรมระเบิดนิวเคลียร์ฮิโรชิมา
ร่างของผู้คนต่างกระจัดกระจายไปทั่วพื้นดิน หลายร่างทอดกายเกยทับกันและกัน มากมายเสียจนผมไม่อาจบอกได้ว่ามีจำนวนเท่าไร บางคนอาจจะยังมีลมหายใจอยู่ เสียงครวญครางลอดมาให้ผมได้ยิน มันคือเสียงร้องครั้งสุดท้ายก่อนที่พวกเขาจะสิ้นลมหายใจหรือเปล่าผมก็ไม่อาจจะทราบได้แน่ชัด
-
ทำไม “การปฏิวัติบนหลังคาบ้านด้วยโซลาร์เซลล์” ถึงสำคัญ? ข้อสรุปจากเสวนา คุยกันใต้หลังคาโซลาร์เซลล์ ช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจหลัง Covid-19 (ตอนที่ 1)
ในบทความนี้เราจะพูดถึงข้อเสนอการปฏิวัติบนหลังคาบ้านเรือน 1 ล้านหลังคาเรือนภายใน 3 ปี (ปี 2564-2566) กับ ดร.เดชรัต สุขกำเนิด นักวิชาการเศรษฐศาสตร์และพลังงาน ถึงความเป็นไปได้ของข้อเสนอ
-
ฮาวทู Supermarket ไร้พลาสติก
ไอเดียการใช้สิ่งอื่นแทนบรรจุภัณฑ์พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง ที่ซูเปอร์มาร์เก็ตทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
-
เมื่อ CPTPP จะทำให้ความหมายของเมล็ดพันธุ์เปลี่ยนไป
ทำไมถึงต้องกังวล หากเมล็ดพันธุ์จะถูกจดสิทธิบัตรและถูกครอบครองโดยบริษัท?
-
กรีนพีซเสนอรัฐบาลนำงบฟื้นฟูมาลงทุนโซลาร์รูฟท็อป 1 ล้านหลังคาเรือน เพื่อเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและเป็นธรรม
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดตัวปฏิบัติการ “โซลาร์รูฟท็อป 1 ล้านหลังคาเรือน” ผลักดันให้รัฐบาลนำงบประมาณที่ใช้ฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังโควิด-19 เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านทางพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรม และกระตุ้นการลงทุนระบบพลังงานหมุนเวียนแบบกระจายศูนย์ที่ก่อให้เกิดการจ้างงานที่มีคุณค่า ลดความเหลื่อมล้ำและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
-
ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)
รายงานฉบับนี้ จึงเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการนำระบบ net-metering มาใช้ในประเทศไทย โดยตั้งเป้าหมายที่จะมีระบบโซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะวัตต์ ภายในระยะเวลา 3 ปี
-
10 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรอบโลกท่ามกลางไวรัส Covid-19 (ตอนที่ 2)
ติดตามอีก 5 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมรอบโลกและไทยในครึ่งแรกของปี
-
ชีวิตติดร่างแห ปี 2
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 สหภาพยุโรปได้ประกาศปลด ‘ใบเหลือง’ และถอดประเทศไทยออกจากรายชื่อ ‘ประเทศที่ถูกเตือน’ สำหรับการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU fishing) ส่งผลให้ประเทศไทยกลายมาเป็น “ต้นแบบ” (Role model) ของหลายประเทศในแง่การแก้ปัญหาการทำประมง หากแต่ว่าในทางปฏิบัติ เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างไรกับชีวิตแรงงานประมงบ้าง
-
10 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรอบโลกท่ามกลางไวรัส Covid-19 (ตอนที่ 1)
ครึ่งแรกของปี 2563 นี้ มีสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมอะไรบ้างที่เกิดขึ้นทั้งในไทยและทั่วโลก
-
เราจำเป็นต้องปกป้องทุกชีวิตบนโลก : ทางออกเพื่อต่อกรกับวิกฤตความหลากหลายทางชีวภาพ
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) เป็นหนึ่งในตัวแปรหลักที่จะเพิ่มความเสี่ยงของโรคระบาดในอนาคต ขณะเดียวกันก็มีปัจจัยต่างๆ อีกมากที่มีส่วนสำคัญซึ่งส่งผลต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ