All articles
-
พบขยะพลาสติกจากโคคา-โคล่า และเป๊ปซี่โคสูงสุดเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
รายงานแบรนด์ออดิทปี 2564 ยังพบจำนวนขยะพลาสติกจากผู้สนับสนุนหลักของ COP26 อย่างยูนิลิเวอร์ เพิ่มขึ้นจนติดอันดับผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากสุดเป็นอันดับ 3 ของโลก
-
เอกสารลับแฉ! กลุ่มประเทศผู้ผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิลตีกลับแผนปฏิบัติการสภาพภูมิอากาศในรายงาน IPCC
รายงานข่าวจากอันเอิร์ธ เปิดเผยเอกสารรั่วไหลที่ระบุว่า กลุ่มประเทศผู้ผลิตถ่านหิน เนื้อสัตว์เชิงและอาหารสัตว์ส่วนหนึ่งพยายามลบผลการค้นพบในรายงานด้านสภาพภูมิอากาศขององค์การสหประชาชาติ (UN)
-
24 องค์กรภาคประชาสังคมเรียกร้องชาติอาเซียนปกป้องสิทธิมนุษยชนของแรงงานประมงข้ามชาติ
รายงานล่าสุดจากความร่วมมือของ 24 องค์กรภาคประชาสังคมเผยหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลด้านสิทธิมนุษยชน แรงงานข้ามชาติ และป้องกันอาชญากรรมของชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังล้มเหลวในการปกป้องแรงงานประมงข้ามชาติที่ทำงานบนเรือประมงในน่านน้ำสากล
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน : เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การใช้ถ่านหินนำเข้าในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการใช้ถ่านหินในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับภาคการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 23 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 39 ในปี 2562
-
กรีนพีซวิเคราะห์สถานการณ์มลพิษทางอากาศตามค่าแนะนำคุณภาพอากาศใหม่ขององค์การอนามัยโลก
วันนี้องค์การอนามัยโลก (WHO) ปรับค่าแนะนำคุณภาพอากาศเป็นครั้งแรกในรอบ 15 ปี จากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ อินเดีย โดยใช้ข้อมูลจาก IQAir ชี้ให้เห็นว่า ในปี 2563 มลพิษทางอากาศเมืองใหญ่ทั่วโลก ส่วนใหญ่มีความเข้มข้นเกินค่าแนะนำขององค์การอนามัยโลก
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
ดาวน์โหลดเอกสาร ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
-
กรีนพีซเรียกร้องกรมควบคุมมลพิษให้ประเมินผลและทบทวน Roadmap การจัดการขยะพลาสติก ระบุ Roadmap ไร้ทิศทางและสวนทางกับเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
บทวิพากษ์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
คำประกาศ ความหวังและทิศทางของสังคมไทยต่อการกู้วิกฤติสภาพภูมิอากาศ
Thai Climate Justice for All (TCJA) เครือข่ายที่รวมประชาสังคมกลุ่มต่างๆ รวมตัวกันศึกษาขับเคลื่อนต่อสู้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมีเป้าหมายที่จะระดมพลังครั้งใหญ่ขับเคลื่อนสังคมในต่อสู้กับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีความหวัง
-
รายงาน IPCC เตือนให้รัฐบาลทั่วโลกลงมือทำทันทีเพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนที่จะสายเกินไป
รายงานคณะทำงานที่ 1 เรื่อง “พื้นฐานวิทยาศาสตร์กายภาพ(the Physical Science Basis)” อันเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการประเมินครั้งที่ 6 (the Sixth Assessment Report) ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) จัดทำโดย นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศชั้นนำของโลก สรุปถึงความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดว่า เกิดอะไรขึ้นกับระบบสภาพภูมิอากาศของโลก และเป็นคำเตือนที่ชัดเจนว่าเรากำลังจะมุ่งหน้าไป ณ ที่ใด หากไม่ลงมือทำอย่างเร่งด่วน
-
แถลงการณ์ (ฉบับที่ 2): คัดค้านการผ่อนปรนการนำเข้าเศษพลาสติกหยุดการนำเข้าเศษพลาสติกอย่างเด็ดขาดภายในปี 2564
ปัญหาขยะพลาสติกเริ่มกลายเป็นประเด็นร้อนของสังคมไทย ภายหลังจากรัฐบาลจีนออกกฎหมายห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยเฉพาะการห้ามนำเข้าเศษพลาสติกต่างประเทศ นโยบายดังกล่าวส่งผลให้ผู้ประกอบการรีไซเคิลขยะพลาสติกในประเทศจีนหลายรายได้ย้ายฐานการรีไซเคิลไปยังประเทศต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอาเซียนและประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากปริมาณนำเข้าเศษพลาสติกที่อาจแฝงด้วยขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา จนทะลุ 5 แสนกว่าตันในปี 2561 และข่าวการจับกุมการลักลอบนำเข้าขยะพลาสติกหลายราย ที่มีการสำแดงเท็จว่าเป็น “เศษพลาสติก”