All articles
-
มายาคติ: พลังงานหมุนเวียนต้องมีการอุดหนุนทางการเงินที่ไม่เป็นธรรมจำนวนมหาศาล
ไม่ว่าจะเป็นพลังงานใดก็ตามต่างก็ต้องอาศัยเงินอุดหนุนทั้งสิ้น ทั้งในรูปแบบของเครดิตภาษี การรับประกันราคา การวิจัยและพัฒนา (R&D) หรือค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนและทำความสะอาดต่างๆ ฯลฯ โดยพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลนั้นเป็นพลังงานที่ได้รับเงินอุดหนุนในสัดส่วนที่มากที่สุด อีกทั้งยังได้รับผลประโยชน์จากการสนับสนุนของรัฐบาลมาทุกยุคทุกสมัย
-
ถิ่นที่อยู่ของอุรังอุตังอันเกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน: สาเหตุที่เราต้องสู้เพื่อปกป้องผืนป่าของเรา
กลุ่มพิทักษ์สิทธิสัตว์ (Intern…
-
พลังงานหมุนเวียน 100% กระบี่ทำได้แน่ หากมีการสนับสนุนจากผู้กำหนดนโยบาย
“ภายในปี 2569 ถ้าไม่ถูกกีดกัน กระบี่จะสามารถพึ่งตนเองด้วยพลังงานหมุนเวียน 100% ตลอด 24 ชม ตลอดทั้งปี และปี 2564 ก็สามารถเริ่มได้แล้ว 100% ในบางชั่วโมง ทุกคนทำได้ และช่วยทำให้เกิดขึ้นจริงได้” คุณศุภกิจ นันทะวรการ นักวิจัยพลังงานและอุตสาหกรรม มูลนิธินโยบายและสุขภาวะ หนึ่งในคณะทำงาน Krabi Goes Green
-
มลพิษพลาสติกไปถึงแอนตาร์กติก
ข่าวด่วน: นักวิทยาศาสตร์ของกรีนพีซค้นพบพลาสติกและสารเคมีอันตรายในภูมิภาคแอนตาร์กติก
-
มายาคติ: ระบบสายส่งไฟฟ้าต้องการการผลิตไฟฟ้า 24 ชั่วโมง(ไฟฟ้าฐาน)ซึ่งพลังงานหมุนเวียนทำไม่ได้
ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสิ่งที่เราเรียกกันว่า ‘baseload power’ มักจะถูกใช้เป็นข้ออ้างเพื่อให้เราต้องอาศัยการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงฟอสซิลขนาดใหญ่และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
-
พาราควอต สารอันตรายที่ประเทศผู้ผลิตและทั่วโลกยังต้องแบน แต่ไทยยังปล่อยให้ใช้ต่อ
มติอันไม่เป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมนี้ได้สร้างความสงสัยให้กับภาคประชาสังคมเป็นอย่างมาก
-
“ควน ป่า นา เล ควรหวงแหน” ปกป้องตือโละปาตานี
“ควน ป่า นา เล ควรหวงแหน” ชุมชนเทพาขอเลือกเทใจให้พลังงานหมุนเวียน
-
กรณ์อุมา พงษ์น้อย: “เราไม่เคยคิดหวังพึ่งกระบวนการยุติธรรมแม้กระทั่งศาลปกครอง เพราะไม่คิดว่าจะสร้างความเป็นธรรมให้กับเราได้”
สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังคงเป็นเรื่องน่ากังวลในประเทศไทย แต่สิ่งที่เป็นความหวังในการปกป้องชุมชนและสิ่งแวดล้อมเสมอมาคือพลังและการขับเคลื่อนของภาคประชาชน
-
5 เหตุผล ทำไมโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำถึงไม่ใช่ความคิดที่ดี
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ลอยล่องอยู่ในน่านน้ำแถบมหาสมุทรขั้วโลกเหนือ เป็นภัยคุกคามที่เห็นได้ชัดต่อสภาพแวดล้อมอันห่างไกลและเปราะบางนี้
-
32 ปี หลังเชอร์โนบิล และโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำ
32 ปีก่อนหน้านี้ อุบัติเหตุนิวเคลียร์กลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทำให้เกิดการปนเปื้อนพื้นที่ขนาดใหญ่ในทวีปยุโรป