All articles
-
เราต้องเปลี่ยนระบบอาหารในปัจจุบัน เพื่อปกป้องแหล่งน้ำจากผลกระทบอุตสาหกรรมปศุสัตว์
ในวัน World Food Day ที่ผ่านมา ได้กำหนดให้ ‘น้ำ’ เป็นหัวข้อหลักที่จะพูดคุยถึงในปีนี้ แน่นอนว่าน้ำคือทรัพยากรสำคัญในการเพาะปลูกอาหาร แต่ขณะนี้ผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศกำลังทำให้การเพาะปลูกต้องเจอกับความท้าทายครั้งใหญ่
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมที่เลือนลาง ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 11 กันยายน 2566
จากการเลือกตั้ง 2566 มาสู่การจัดตั้งรัฐบาล กรีนพีซ ประเทศไทยติดตามตรวจสอบนโยบายสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศ เริ่มต้นจากการทำ check list ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา
-
รายงานเผย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุกผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงเพิ่มเป็น 11.8 ล้านไร่
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดเผยผลการวิเคราะห์ภาพดาวเทียมปี 2564-2566 ระบุอุตสาหกรรมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ยังคงมีบทบาทสำคัญในการทำลายผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ในขณะที่จุดความร้อน (Hot Spot) ในพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น สะท้อนให้เห็นว่ารัฐบาลที่ผ่านมาล้มเหลวในการบรรลุเป้าหมายลดจุดความร้อนภายใต้แผนปฏิบัติการเชียงราย (Chiangrai Plan of Action) และมีส่วนสนับสนุนให้อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ละเลยภาระรับผิดต่อวิกฤตมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-
ผลวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และจุดความร้อน ในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ปี 2564-2566 : ความท้าทายของระบบตรวจสอบย้อนกลับของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
ข้อมูลการวิเคราะห์จากภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุดระบุว่าในปี 2566 พบจุดความร้อนในแปลงข้าวโพดเลี้ยง สัตว์มากถึงร้อยละ 41 ของจุดความร้อนทั้งหมดในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ขณะเดียวกัน ผืนป่าในอนุภูมิภาค ลุ่มนํ้าโขงหายไป 11.8 ล้านไร่จากการขยายตัวของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในระยะเวลาเพียง 9 ปี (ปี 2558-2566)
-
ปรัตถกร จองอู : บทสนทนาว่าด้วยความไม่เป็นธรรมทางสัญชาติของคนชาติพันธุ์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ข้อเท็จจริงของปัญหาเรื่องฝุ่นพิษและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นั้นไม่ใช่แค่วิถีการทำเกษตรจากประชาชนกลุ่มเล็ก ๆ บนพื้นที่ภูเขา แต่เงื่อนไขที่ผลักดันให้คนบนดอยต้องพึ่งพารายได้จากการปลูกข้าวโพดนั้นเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างทางสังคมที่เรื้อรังมายาวนานและตอกย้ำความไม่เป็นธรรมทางสิทธิมนุษยชน
-
ครึ่งปีผ่านไป คุณกับเรา ได้ขับเคลื่อนงานรณรงค์เรื่องฝุ่นพิษข้ามแดนอะไรบ้าง?
มาดูสรุปกันดีกว่าว่าทั้งเราและคุณ ช่วยกันขับเคลื่อนประเด็นระบบอาหารที่เชื่อมโยงกับฝุ่นพิษข้ามแดน (ไม่ว่าจะเป็นการติดตาม แชร์ข่าวสาร ร่วมกิจกรรม ชมนิทรรศการ หรือพูดคุยในวงสนทนากับเพื่อน ๆ) อะไรบ้าง
-
10 ความลับที่ยิ่งใหญ่ของผึ้ง
คุณรู้จักผึ้งมากแค่ไหน? นี่คือ 10 เรื่องเล็ก ๆ ที่น่ารัก แต่สำคัญและยิ่งใหญ่เกี่ยวกับผึ้งที่เราเคยพบเจอ มาดูกันดีกว่าว่าจะมีอะไรบ้าง
-
ใครคือผู้ได้รับผลประโยชน์จากอุตสาหกรรมอาหาร?
หลายปีที่ผ่านมา กลุ่มขับเคลื่อนที่ต่อสู้เพื่ออธิปไตยทางอาหาร พยายามกระจายอำนาจคืนสู่ผู้ผลิตอาหารรายย่อย แก้ไขความเสียหายที่เกิดจากการทำเกษตรกรรมเชิงอุตสาหกรรมที่ไม่ยั่งยืน เพื่อปกป้องชุมชน สิ่งแวดล้อม และสิทธิ์ในการเข้าถึงอาหารของพวกเราทุกคน
-
ฝุ่นพิษภาคเหนือ : เมื่อเกษตรกรคือแพะรับบาป แต่หลังม่านกลับพบทุนผูกขาดยักษ์ใหญ่?
เมื่อฤดูฝุ่นควันมาถึง สิ่งที่มักตามมาด้วยคือวาทกรรมเกษตรกรคือคนผิด ทั้งที่เป็นปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างนโยบายที่รัฐผลักดันให้เอื้อกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมเกษตรผูกขาดของกลุ่มทุนในประเทศ ว่าแต่กลุ่มทุนผูกขาดยักษ์ใหญ่เกี่ยวอะไรด้วย สรุปแล้วใครต้องรับผิดชอบต่อฝุ่นพิษที่เกิดขึ้น เกษตรกรในระบบเกษตรพันธสัญญา หน่วยงานภาครัฐหรือภาคธุรกิจที่ส่งเสริมให้เกิดการเกษตรแบบนี้ แล้วเราจะมาร่วมกันแก้ไขปัญหานี้ด้วยกันอย่างไร?
-
Hazibition นิทรรศการใต้ฝุ่นควัน
Hazibition นิทรรศการใต้ฝุ่นควัน ฝุ่นภาคเหนือมาจากไหน แล้วใครต้องรับผิดชอบ?