All articles
-
EIA ไร้ศักดิ์ศรีที่อมก๋อย
ปัจจุบันมี EIA ที่ถูกประท้วง ร้องเรียน และคัดค้านโดยชุมชนในประเทศไทยอย่างน้อยที่สุด 22 โครงการ หนึ่งในนั้นคือโครงการเหมืองถ่านหินกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ บทความนี้สรุปประเด็นหลัก 6 ประเด็นจากข้อสังเกตทางวิชาการว่าด้วย EIA ของโครงการเหมืองถ่านหิน กะเบอะดิน
-
ข้อสังเกตประเด็นปัญหาทางวิชาการและแนวทางการปรับปรุงในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการเหมืองถ่านหินกะเบอะดิน
ข้อสังเกตประเด็นปัญหาทางวิชาการและแนวทางการปรับปรุงในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการเหมืองถ่านหินกะเบอะดิน คำขอประทานบัตรที่ ๑/๒๕๔๓ ของบริษัท 99 ธุวานนท์ จำกัด อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
-
คำประกาศเจตนารมณ์ คัดค้านโครงการเหมืองถ่านหิน จากชุมชนบ้านกะเบอะดิน ต.อมก๋อย อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่
ตลอด 3 ปีที่พวกเรากะเหรี่ยงบ้านกะเบอะดิน ต.อมก๋อย อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่และภาคีเครือข่ายได้ร่วมกันคัดค้านการดำเนินการขุดเหมืองแร่ถ่านหิน ซึ่งจะกระทบต่อวิถีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งที่ดินทำกิน
-
#น้ำมันรั่วChevronSPRC หายนะทะเลไทย และคำถามสำคัญต่อภาระรับผิดของอุตสาหกรรมฟอสซิล
น้ำมันรั่วจะเกิดขึ้นหรือไม่ ต้องถามว่ามันจะเกิดขึ้นเมื่อไร” การรั่วไหลของน้ำมันเป็นผลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงของยุคเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นอันตราย และข้อมูลการรั่วไหลของน้ำมันมักจะไม่สมบูรณ์
-
บริษัทสตาร์ปิโตรเลี่ยม รีไฟน์นิ่ง จำกัด มหาชน (SPRC) ต้องมีภาระรับผิดต่ออุบัติภัยน้ำมันรั่ว ถึงเวลาที่รัฐบาลไทยต้องปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล
จากเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วไหลจำนวน 400,000 ลิตร จากท่อใต้ทะเลของทุ่นรับน้ำมันดิบกลางทะเล ของบริษัทสตาร์ปิโตรเลี่ยม รีไฟน์นิ่ง จำกัด มหาชน (SPRC) กรีนพีซ ประเทศไทย ในฐานะเป็นองค์กรอิสระรณรงค์เพื่อความเป็นธรรมด้านสิ่งแวดล้อม มีความเห็นและข้อเรียกร้องดังต่อไปนี้
-
3 สิ่งสำคัญที่โตโยต้าและอุตสาหกรรมรถยนต์ควรทำเพื่อแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศทันที
บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกล้มเหลวต่อการปกป้องสภาพภูมิอากาศโลก โดยหนึ่งในบริษัทที่น่าผิดหวังที่สุดคือโตโยต้า มีข้อมูลจากรายงานล่าสุดกรีนพีซเอเชียตะวันออกเปิดเผยว่า บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ 10 แห่งซึ่งครอบคลุมตลาดถึง 80% ไม่ได้ทำหน้าที่ของตัวเองเท่าที่ควรเพื่อแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน
ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง
-
กรีนพีซตอบโต้ – ร่างแรกของความตกลงกลาสโกว์มีเนื้อหาที่ “ไม่หนักแน่นอย่างยิ่ง” และไม่เอ่ยอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล
ร่างแรกของเนื้อหาการตัดสินใจ (decision text) ของความตกลงกลาสโกว์ไม่มีการอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล - แย้งกับคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ
-
กรีนพีซ อินเดีย ระบุ แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของรัฐบาลอินเดีย ไปด้วยกันไม่ได้กับการลงทุนใหม่ในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
อินเดียควรมุ่งมั่นลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์โดยสุทธิให้เร็วขึ้นหลังจากประเมินสถานการณ์ในปีต่อๆไป แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าวต้องไม่นำใช้ในทางที่ผิดและการฟอกเขียว และควรมีการกำหนดเวลาให้ชัดเจนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด
-
ปลดระวางถ่านหินเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมในประเทศไทย
การปลดระวางการลงทุนในถ่านหิน (coal divestment) เป็นแนวทางที่ดำเนินการทั่วโลก เนื่องจากการตระหนักถึงพิษภัย และความเสี่ยงในการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อนแบบที่ไม่มีจุดวกกลับ ประเทศไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมโลก จึงมีส่วนสำคัญในการร่วมรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อความยั่งยืนของลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปในการดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข