All articles
-
3 สิ่งสำคัญที่โตโยต้าและอุตสาหกรรมรถยนต์ควรทำเพื่อแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศทันที
บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกล้มเหลวต่อการปกป้องสภาพภูมิอากาศโลก โดยหนึ่งในบริษัทที่น่าผิดหวังที่สุดคือโตโยต้า มีข้อมูลจากรายงานล่าสุดกรีนพีซเอเชียตะวันออกเปิดเผยว่า บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ 10 แห่งซึ่งครอบคลุมตลาดถึง 80% ไม่ได้ทำหน้าที่ของตัวเองเท่าที่ควรเพื่อแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน
ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง
-
กรีนพีซตอบโต้ – ร่างแรกของความตกลงกลาสโกว์มีเนื้อหาที่ “ไม่หนักแน่นอย่างยิ่ง” และไม่เอ่ยอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล
ร่างแรกของเนื้อหาการตัดสินใจ (decision text) ของความตกลงกลาสโกว์ไม่มีการอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล - แย้งกับคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ
-
กรีนพีซ อินเดีย ระบุ แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของรัฐบาลอินเดีย ไปด้วยกันไม่ได้กับการลงทุนใหม่ในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
อินเดียควรมุ่งมั่นลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์โดยสุทธิให้เร็วขึ้นหลังจากประเมินสถานการณ์ในปีต่อๆไป แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าวต้องไม่นำใช้ในทางที่ผิดและการฟอกเขียว และควรมีการกำหนดเวลาให้ชัดเจนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด
-
ปลดระวางถ่านหินเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมในประเทศไทย
การปลดระวางการลงทุนในถ่านหิน (coal divestment) เป็นแนวทางที่ดำเนินการทั่วโลก เนื่องจากการตระหนักถึงพิษภัย และความเสี่ยงในการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อนแบบที่ไม่มีจุดวกกลับ ประเทศไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมโลก จึงมีส่วนสำคัญในการร่วมรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อความยั่งยืนของลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปในการดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข
-
เอกสารลับแฉ! กลุ่มประเทศผู้ผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิลตีกลับแผนปฏิบัติการสภาพภูมิอากาศในรายงาน IPCC
รายงานข่าวจากอันเอิร์ธ เปิดเผยเอกสารรั่วไหลที่ระบุว่า กลุ่มประเทศผู้ผลิตถ่านหิน เนื้อสัตว์เชิงและอาหารสัตว์ส่วนหนึ่งพยายามลบผลการค้นพบในรายงานด้านสภาพภูมิอากาศขององค์การสหประชาชาติ (UN)
-
สรุปเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครจะปลดระวางก่อน’ #ปลดระวางถ่านหิน
สรุปจากเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครปลดระวางก่อนกัน?’ วงพูดคุยที่ชวนตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ คนทำงานด้านกฎหมาย นักวิจัยนโยบาย และกรีนพีซ มาร่วมกันพูดคุยถึงปัญหา การต่อสู้ ระหว่างกระบวนการการที่ออกแบบเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรมถ่านหิน
-
สรุปจากเสวนา ‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ ตอน อยุธยาเมืองท่าถ่านหิน
‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ เสวนาจาก Greenpeace Thailand ชวน ‘เริงชัย คงเมือง’ ช่างภาพสารคดี ‘อำนาจ อ่วมภักดี’ ตัวแทนกลุ่มรักบ้านเกิดและคณะกรรมการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด และจริยา เสนพงศ์ หัวหน้างานรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน กรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงปัญหาจากถ่านหินที่คนในพื้นที่ได้รับผลกระทบมาแล้วกว่า 20 ปี
-
ประชากร 61 เมืองใหญ่ทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากถ่านหิน
รายงานจากเครือข่าย C40 Cities Climate Leadership Group ระบุว่าจากแบบจำลองและวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของถ่านหินต่อสุขภาพของประชากรในเมืองใหญ่ใน 61 เมืองทั่วโลกในช่วงปี 2563-2573
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน : เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การใช้ถ่านหินนำเข้าในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการใช้ถ่านหินในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับภาคการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 23 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 39 ในปี 2562