All articles
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทยต่อกรอบการเจรจาและท่าทีของประเทศไทยในการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลว่าด้วยสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty)
ในเดือนมีนาคม 2565 ที่ประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEA) ซึ่งเป็นเวทีการประชุม สหประชาชาติระดับสูงที่สุดในการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของโลก ได้รับรองข้อมติยุติมลพิษจากพลาสติก : ด้วยมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ พร้อมจัดตั้ง คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Negitiating Committee on Plastic Pollution) ขึ้นเพื่อเจรจาและจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศด้านมลพิษ จากพลาสติกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางทะเล หรืออีกนัยหนึ่งคือ “สนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty)”
-
‘แฟชั่นหมุนเวียน’ อาจแค่การฟอกเขียว แต่ Slow Fashion คือทางออกสู่อนาคต
ประชาชนในเคนยาและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้กำลังเผชิญปัญหาเสื้อผ้าไม่ใช้แล้ว และเสื้อผ้าปริมาณมหาศาลที่ไม่เป็นที่ต้องการในประเทศร่ำรวยทะลักเข้าสู่ประเทศตัวเอง ซึ่งปริมาณของมันมากเกินกว่าความต้องการของตลาดในท้องถิ่น
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องสหประชาชาติหยุดกลุ่มอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อาจลดทอนการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ภาคประชาสังคมและนักวิทยาศาสตร์กว่า 150 กลุ่มทั่วทุกมุมโลก รวมถึงนักชาติพันธุ์วิทยา นักมานุษยวิทยาและดร.เจน กู๊ดดอลล์ ทูตสันติภาพของสหประชาชาติได้ร่วมลงนามในจดหมายเปิดผนึกถึงสหประชาชาติให้จับตามองอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลระหว่างการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อให้การเจรจาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพ
-
ทำไมเราต้องเรียกร้อง ‘สนธิสัญญาพลาสติกโลก’
เพราะสนธิสัญญาพลาสติกโลกจะเป็นโอกาสที่จะทำให้เรายุติมลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นได้ ซึ่งก่อนหน้านี้การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกเริ่มขึ้นในปี 2565 และเรามีเวลาจนถึงปี 2567 เพื่อทำให้สนธิสัญญาฉบับนี้เกิดขึ้นจริง มีความเข้มแข็ง มุ่งมั่น และมีผลบังคับใช้อย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
-
ปัว เล เปง นักต่อสู้ผลักดันขยะกลับประเทศต้นทาง ผู้เชื่อว่า การรีไซเคิลคือการฟอกเขียว
นักเคลื่อนไหวเรื่องปัญหาขยะพลาสติกในมาเลเซีย เธอทำงานรณรงค์ต่อต้านประเด็นนำเข้าขยะมาอย่างยาวนาน ปัวเริ่มต้นสนใจประเด็นนี้จากโรงงานรีไซเคิลขยะพลาสติกที่ตั้งอยู่ในชุมชนของเธอและมันส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน สุขภาพ มลภาวะทางอากาศ และสิ่งแวดล้อม ปัวจึงลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องบ้านเกิดของตนเอง ณ เมืองเจนจารอม รัฐเซลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย
-
ขยะพลาสติกผู้ผลิตต้องรับผิดชอบ : หยุดผลักภาระให้ประชาชน ต้องแก้ปัญหามลพิษพลาสติกที่ต้นตอของวิกฤต
เพราะมลพิษพลาสติกส่งผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะต่อสุขภาพของประชาชน ปัญหาขยะพลาสติกจึงเป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องมีหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมแก้ไปพร้อม ๆ กัน ทั้งเชิงโครงสร้างและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-
#ทิ้งแล้วไปไหน เรื่องเล่าจากหลุมขยะนำเข้าในอินโดนีเซีย
เราไม่แน่ใจว่าขยะเหล่านั้นถูกจัดการอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ตอนนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซียกำลังประสบปัญหาเรื่องขยะนำเข้า
-
WISHULADA : ศิลปินผู้สื่อสารปัญหาขยะพลาสติกผ่านผลงานศิลปะ
ส่งเสียงผ่านผลงานเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการจัดการแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกที่เป็นหนึ่งในปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมและก่อให้เกิดวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
ส่องมาตรการแบนการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งภายในปี 2023 ของฮ่องกง
โดยก่อนหน้านี้ กรีนพีซร่วมกับองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมและกลุ่มบุคคลที่รณรงค์ด้านพลาสติกกว่า 5,300 คนเรียกร้องให้รัฐบาลออกมาตรการควบคุมการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งที่เข้มงวดขึ้น ด้วยแรงสนับสนุนมากมายนี้ทำให้การขับเคลื่อนของเราประสบความสำเร็จในที่สุด
-
A year in pictures : เล่าเรื่องผ่านรูป ปี 2565 ประเทศไทยเกิดอะไรขึ้นบ้าง
จากสถานการณ์น้ำมันรั่วระยอง ไปจนถึงการประชุม APEC ปี 2565 ประเทศไทยผ่านอะไรมาบ้าง มาดูกัน!