All articles
-
มาคุยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับ เรเน เยาวชนนักรณรงค์เพื่อสภาพภูมิอากาศ
พูดคุยกับเรเน นักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 5 จากฮ่องกง เมื่อฤดูร้อนที่แล้วเธอหันมารับประทานพืชผักเป็นหลักเพื่อช่วยชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
“ความเป็นธรรมด้านสภาพภูมิอากาศ” จะช่วยให้โลก “เท่าเทียม” มากขึ้น
แม้ว่าทั่วโลกกำลังเผชิญกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่ศักยภาพในการเอาตัวรอดของเรานั้นกลับไม่เท่ากัน ความอยู่รอดของเราขึ้นอยู่กับ “ความมั่งคั่ง” ที่เรามี เพราะคนที่ยิ่งมีความมั่งคั่งมากเท่าไหร่ พวกเขาก็ยิ่งมีศักยภาพมากพอที่จะซื้อ “ความปลอดภัย” ให้กับตัวเองได้มากเท่านั้น
-
ไฟป่าอนุรักษ์ : ผลพวงของนโยบายที่ผิดพลาดและสัญญานเตือนของภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ
ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา เกิดปรากฏการณ์ไฟรุนแรงในพื้นที่ป่าหลายแห่ง เริ่มจาก อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จ.เลย ในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ส่งผลให้เกิดความเสียหายในพื้นที่ป่าสนเขาเป็นวงกว้าง
-
ถึงเวลาประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ
ไทยเป็นประเทศอันดับต้นๆ ของโลกที่มีความเสี่ยงสูงต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ เมื่ออุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกเพิ่มขึ้นเป็น 1.5 องศาเซลเซียส จำนวนวันแห้งแล้งในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นและรุนแรงยิ่งกว่าเดิม
-
5 เรื่องราวของ “ผู้หญิง” ที่ผลักดัน “ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ”
ปัจจุบัน มีกลุ่มผู้หญิงที่ลุกขึ้นมาแสดงพลังในการปกป้องสิ่งแวดล้อม รวมถึงเรียกร้องความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศอยู่ไม่น้อย
-
ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
-
วิกฤตภูมิอากาศ คือ วิกฤตมหาสมุทรโลก กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้นำโลกแก้ไขปัญหามหาสมุทรโดยด่วน
ผลกระทบของวิกฤตการณ์สภาพภูมิอากาศต่อมหาสมุทรนั้น มีความซับซ้อนและเชื่อมโยงกับความหลากหลายทางชีวภาพและการดำรงอยู่ของมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง ซึ่งต้องการการตอบสนองทางการเมืองทั่วโลกอย่างเร่งด่วนในอีก 12 เดือนข้างหน้า
-
การเดินทางของ Climate Strike ในประเทศไทย ผ่านมุมมองของหลิง นันทิชา โอเจริญชัย
เราเคยท้อแล้วคิดว่าจะไม่ทำ Climate Strike แล้ว แต่ก็มีคนบอกกับเราว่า Climate Strike มันคืองานของเราที่จะต้องสร้างการรับรู้ให้กับคนอื่น งานของเราไม่ใช่การลงมือทำเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น แต่งานของเราคือการสร้างการรับรู้เรื่องของวิกฤตสภาพภูมิอากาศให้ได้ก่อน
-
นายกเทศมนตรี 14 เมืองใหญ่ทั่วโลกมุ่งมั่นที่จะลดการบริโภคเนื้อสัตว์ในเมืองของตน
14 เมืองใหญ่ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นปารีส ลอสแอนเจลิส ลิมา โตเกียว และโซล ได้แสดงความมุ่งมั่นที่จะเป็น “เมืองอาหารดี” (Good Food Cities) โดยการลดการบริโภคเนื้อสัตว์ตามโรงอาหารหน่วยงานของรัฐเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเร่งด่วนเพื่อรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
ภาพน่าประทับใจของ #ClimateStrike ทั่วโลก
เมื่อผืนป่าในหลายประเทศกำลังถูกเพลิงเผาผลาญ น้ำแข็งในขั้วโลกกำลังละลาย ความมั่นคงทางอาหารและการเข้าถึงน้ำสะอาดของมนุษย์กำลังถูกคุกคาม หรือสัตว์หลายสายพันธุ์กำลังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ นี่คือความจริงที่แสนจะน่ากลัวที่กำลังเกิดขึ้นจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ เมื่อเดือนกันยายนปี พ.ศ. 2561 นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลกได้ออกคำเตือนต่อมนุษยชาติว่าเรามีเวลาไม่ถึง 12 ปี (หากนับปีนี้จะเป็น 11 ปี) ในการลงมืออย่างจริงจังเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เลวร้ายที่สุดของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรากำลังอยู่ในจุดพลิกผันแห่งประวัติศาสตร์ของวิกฤตสภาพภูมิอากาศร่วมกัน และเมื่อ วันที่ 20 และ 27 กันยายนที่ผ่านมา เยาวชนทั่วโลกต่างหยุดเรียนเพื่อเรียกร้องให้มีการลงมือปกป้องสภาพภูมิอากาศ และนี่คือภาพบรรยากาศกิจกรรม Climate Strike ที่เกิดขึ้นกว่า 150 ประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย