All articles by รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
โลกร้อนขึ้น โรคร้ายขึ้น?
อุณหภูมิของเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศอันแปรปรวนและวิกฤตต่าง ๆ ที่ตามมา รวมถึงโรคร้ายต่าง ๆ ที่ดูจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่น่ากังวลมากที่สุด
-
ประชาชนหรืออุตสาหกรรม ใครได้ผลประโยชน์จากฝุ่นพิษ PM2.5
วาทะกรรมหนึ่งในกระบวนการแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษ PM2.5 ของรัฐบาลนั้น ได้กล่าวไว้ว่า “ให้แก้ปัญหาที่ตัวเราเอง” ซึ่งส่วนหนึ่งมีความถูกต้อง แต่ความจริงอีกส่วนที่ภาครัฐไม่เอ่ยปาก คือ ปริมาณฝุ่นพิษอันมหาศาลทั่วประเทศนั้น ผู้ที่ถูกพูดถึงน้อยแต่ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดอาจจะเป็นภาคอุตสาหกรรม
-
ดินที่อุดมสมบูรณ์คือดินที่หล่อเลี้ยงโลก
ความอุดมสมบูรณ์ของดินอาจเป็นสิ่งที่เรามองข้ามไป หากนึกถึงสิ่งแวดล้อมที่ดี เราคงมักนึกถึงป่าไม้ สายน้ำที่สะอาด อากาศดี และบรรดาสัตว์ แต่ดินนั้นคือรากฐานของชีวิต และสะท้อนถึงความอุดมสมบูรณ์ที่เกื้อกุลกันของธรรมชาติ
-
กฎหมายเอาผิดบริษัทต่อการก่อเกิดไฟป่า คือจิ๊กซอว์แก้ปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดน
มลพิษทางอากาศไม่มีขอบเขตแดนประเทศ เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เผชิญกับคุณภาพอากาศที่เลวร้ายในช่วงเวลาหลายเดือนของปี ไม่ว่าจะเป็นช่วงต้นปีที่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงหรือกลางปีจากการเผาป่าที่อินโดนีเซีย ราว 6 ประเทศของภูมิภาคต้องทนกับวิกฤตสุขภาพนี้ราวกับเป็นเรื่องปกติของปี
-
พลาสติก พะยูน ทะเลไทย ในมุมมองของ ชิน-ศิรชัย อรุณรักษ์ติชัย
เชื่อว่าคนไทยยังคงจดจำภาพมาเรียม พะยูนตัวน้อยดูดครีบจ๊วบ ๆ และกินนมนอนหลับในอ้อมกอดของพี่เลี้ยงได้ดี การจากไปของมาเรียมและสัตว์ทะเลอีกหลายชนิดในช่วงนี้ทำให้ในนัยหนึ่งเกิดเป็นกระแสความหวังด้านการอนุรักษ์สัตว์ทะเล และการลดใช้พลาสติก แต่ในเรื่องราวความสูญเสียเหล่านี้ยังคงมีความหวังอยู่จริงหรือ
-
กินเนื้อน้อยลง คือทางออกของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ท่ามกลางอัตราการทำลายป่าแอมะซอนที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้ รายงานล่าสุดจากคณะกรรมการ ระหว่างรัฐบาล ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ IPCC ได้เผยว่า การกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย หากปราศจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการใช้ป่าและผืนดิน และการปรับเปลี่ยนวิถึการบริโภคของมนุษย์ให้กินเนื้อสัตว์น้อยลง
-
ไฟป่าแอมะซอนและวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ภาพทะเลเพลิงที่ลุกไหม้ทำลายผืนป่าแอมะซอนในช่วงหลายวันที่ผ่านมาคือสิ่งที่ทำให้เรารู้สึกสะเทือนใจแม้จะอยู่ห่างออกไปอีกมุมโลก ระบบนิเวศป่าแอมะซอนผลิตออกซิเจนร้อยละ 20 ให้กับโลก ช่วยรักษาสมดุลสภาพภูมิอากาศและอุณหภูมิโลก และอัคคีภัยครั้งประวัติศาสตร์นี้จะทำให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศนั้นเป็นเรื่องที่น่ากังวลใจยิ่งกว่าเดิม
-
ฉลากบนผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ สำคัญอย่างไร
คุณจะเปลี่ยนวิธีการเลือกซื้อเนื้อสัตว์หรือไม่ หากทราบรายละเอียดที่มาของเนื้อสัตว์ชิ้นนั้นอย่างแท้จริง
-
บทสัมภาษณ์: ยาปฏิชีวนะ เชื้อดื้อยา และอาหาร ผ่านมุมมองของ รศ.ดร.นพ. ดิเรก ลิ้มมธุรสกุล
“ในปีหนึ่งคุณกินยาปฏิชีวนะกี่ครั้ง?” คำถามที่เราควรหมั่นถามตัวเองและคนที่เรารัก เพราะปริมาณยาปฏิชีวนะที่เราได้รับนั้นส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของเรา และต่อสุขภาพร่วมกันของคนทั่วโลก เนื่องจากเชื่อมโยงปัญหาเชื้อดื้อยา วิกฤตที่เกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น
-
วิกฤตโรคติดเชื้อดื้อยา ภัยเงียบจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
ไม่แน่ว่า เราอาจได้รับยาปฏิชีวนะ และเชื้อดื้อยา โดยไม่รู้ตัวจากการรับประทานเนื้อสัตว์ โรคติดเชื้อดื้อยา (Antimicrobial Resistance-AMR) นั้น องค์การอนามัยโลก (WHO) ถือว่าเป็นหนึ่งในวิกฤตสุขภาพที่กำลังคุกคามผู้คนในปัจจุบัน