All articles
-
ทำไมการชดเชยคาร์บอน (Offsets) และการลดคาร์บอนแบบอินเซ็ต (Insets) ถึงไม่ใช่ทางออกของวิกฤตโลกเดือด
นี่คือกลอุบายและกลยุทธ์นานัปการที่บริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่ใช้ฟอกเขียวความพยายามที่จะบรรเทาผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของตน จะเบนเข็มไปจากลดการผลิตและการบริโภคปศุสัตว์ที่เกินขนาด ซึ่งจะเป็นวิธีการแก้วิกฤตโลกเดือดที่อุตสาหกรรมเหล่านี้เป็นผู้ก่อได้ตั้งแต่ต้นทาง
-
เพราะเหตุใดลดมีเทนจาก Food Waste จึงไม่เท่าลดการผลิตล้นเกินของอุตสาหกรรมอาหารและเนื้อสัตว์
การทำปศุสัตว์เป็นแหล่งผลิตก๊าซมีเทนจากมนุษย์รายใหญ่ที่สุด ซึ่งก๊าซมีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีศักยภาพในการทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเร็วในระยะเวลาสั้น การเพิ่มขึ้นของการผลิตปศุสัตว์เป็นปัจจัยสำคัญอันดับสองที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบอาหารโลก อันเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา
-
การชดเชยคาร์บอนเครดิตจะไม่ช่วยกู้วิกฤตโลกเดือด ถึงเวลาทางออกด้านสภาพภูมิอากาศที่แท้จริง
หากใครที่ยังไม่คุ้นเคยกับคำว่า ‘ตลาดคาร์บอน’ เราก็อยากจะขออธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า มันไม่ใช่สิ่งที่ดี เพราะความจริงแล้ว ตลาดคาร์บอนเป็นเครื่องมือที่อนุญาตให้เหล่าผู้ก่อวิกฤตโลกเดือดสามารถปล่อยมลพิษสร้างหายนะต่อสภาพภูมิอากาศต่อไปได้ ตลาดคาร์บอนจึงเป็นทั้งทางแก้ปัญหาที่ผิดและเป็นการหลอกลวง
-
ไฮปาร์คเน้น ๆ จากม็อบหยุดวิกฤตโลกเดือดที่ต้นเหตุ : ประชาชนถาม รัฐบาลหยุดเอื้อนายทุนฟอกเขียวกี่โมง?
เราอยากฝากให้รัฐบาลนำเสียงของพี่น้องชาวไทยทุกคน ทุกพื้นที่ และข้อเรียกร้องของเครือข่ายพันธมิตรที่อยากเห็นความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและต้องการให้รัฐบาลไทยที่ร่วมเจรจาในเวที COP29 จะต้องหยุดวิกฤตโลกเดือดที่ต้นเหตุ เพราะวิกฤตนี้กำลังก่อให้เกิดวิกฤตทางด้านสิทธิมนุษยชน การประชุมครั้งนี้ต้องปฏิเสธวิธีการชดเชยคาร์บอน ที่อาจเป็นเครื่องมือให้กลุ่มผู้ก่อภาวะโลกเดือดใช้กลยุทธิ์นี้เพื่อการฟอกเขียว
-
ที่ COP29 เหล่าผู้นำโลกมีโอกาสชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศได้
ในการประชุมมีการหารือเกี่ยวกับเรื่องระบบอาหาร เกษตรกรรม และทรัพยากรน้ำ โดยผู้กำหนดนโยบายที่เข้าร่วมการประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นสภาพภูมิอากาศนี้ต่างต้องยอมรับว่าระบบอาหาร (Food system) นั้นมีส่วนทำให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยมนุษย์มากถึง 37% และถ้าเราเริ่มดำเนินการอย่างจริงจังและปฏิรูประบบเหล่านี้ เราจะสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มหาศาล ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูธรรมชาติ
-
จดหมายเปิดผนึกต่อยุทธศาสตร์ฟ้าใส (Clear Sky Strategy) ในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาลไทย เรียกร้องให้ใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับที่โปร่งใสและเปิดเผยต่อสาธารณะในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
กรีนพีซ จัดนิทรรศการ “เนื้อสัตว์ น้ำท่วม ฝุ่นพิษภาคเหนือ วิกฤตโลกเดือด เกี่ยวกันอย่างไร” เปิดความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และหายนะสิ่งแวดล้อม
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์กับผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ผ่านงานนิทรรศการ “เนื้อสัตว์ น้ำท่วม ฝุ่นพิษภาคเหนือ วิกฤตโลกเดือด เกี่ยวกันอย่างไร” ตั้งแต่ 2 พ.ย. - 15 ธ.ค. 67 ที่ BACC pop⋅up, ห้องนิทรรศการ 2 ชั้น 3 แมด, มันมัน ศูนย์การค้าซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์
-
ข้อตกลงที่ COP29 เรื่องตลาดคาร์บอนเป็นตัวบ่อนทำลายปฏิบัติการกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ผู้เจรจาในการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) ที่บากูได้ตกลงในมาตรฐานใหม่สำหรับกลไกตลาดคาร์บอน ซึ่งจะเปิดโอกาสให้มีช่องโหว่ในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและบ่อนทำลายปฏิบัติการกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
5 ข้อเรียกร้องต่อกลุ่มผู้นำโลกในการประชุมปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP16
การประชุมครั้งนี้จะเป็นการพูดคุยเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพโลกอีกครั้งหลังจากในปี 2022 ที่ผู้นำจาก 196 ประเทศทั่วโลกได้ให้คำมั่นสัญญาในข้อตกลงคุนหมิง - มอนทรีออล เพื่อหยุดยั้งวิกฤตการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพที่นำไปสู่การสูญพันธ์ครั้งใหญ่
-
รู้จักการประชุมระดับโลก เพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ CBD-COP
การประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ครั้งที่ 16 หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP16) การเจรจาเพื่อหาทางปกป้องระบบนิเวศที่ถูกทำลายและการปกป้องสิ่งมีชีวิตจากการสูญพันธุ์