All articles
-
12 ภาพบอกเล่าประเด็นสิ่งแวดล้อมท่ามกลางการระบาดของ Covid-19 ในปี 2563
ท่ามกลางการระบาดของโรคที่รุนแรง ผู้คนยังต้องเผชิญกับภัยคุกคามที่ใหญ่กว่าแม้ว่าบางคนจะอาศัยอยู่อย่างปลอดภัยในบ้านของเขา กลับมีผู้คนอีกนับพันที่ต้องต่อสู้เอาตัวรอดกับสภาพภูมิอากาศที่ร้ายแรง
-
จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีจะมุ่งไปสู่ “ความเป็นกลางทางคาร์บอน(Carbon Nuetral) ให้ได้ 100% อย่างที่ให้สัญญาไว้หรือไม่
จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีรวมกันปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คิดเป็น 1 ใน 3 ของการปล่อยทั่วโลกในปี 2561 ดังนั้น ถือเป็นข่าวดีเมื่อทั้งสามประเทศให้คำมั่นสัญญาว่า จะลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็นศูนย์
-
เมื่อเราต้องเฝ้ามองปะการังที่ไต้หวันค่อย ๆ ฟอกขาวไป
อดีตเจ้าหน้าที่ระดมทุนของกรีนพีซ ซู เจียฉวน (Xu Jiaquan) หรือที่รู้จักกันในนาม “ชริมป์โรล” (Shrimp Roll) ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นครูสอนดำน้ำที่เกาะกรีนไอส์แลนด์ ได้มาเล่าประสบการณ์ให้พวกเราได้ฟัง ว่าเขาจะต้องเห็นปะการังเจอกับอะไรบ้างในปีที่ผ่าน ๆ มา
-
สภาพภูมิอากาศกำลังวิกฤต เมื่อน้ำแข็งในอาร์กติกกำลังหายไป
ปรากฎการณ์น้ำแข็งในขั้วโลกเหนือละลายคือสัญญาณเตือนถึงวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
คนที่กินอาหารแบบวีแกนและมังสวิรัติกำลังทำลายโลกอยู่หรือไม่?
ป่าไม้ตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่าเพื่อให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่ไว้สำหรับปลูกถั่วเหลือง แต่ผลผลิตเหล่านี้จะถูกส่งไปที่ไหน และเบอร์เกอร์มังสวิรัติทำจากถั่วเหลืองควรถูกกล่าวหาว่าเป็นสาเหตุของการทำลายป่านี้หรือไม่
-
ความยุติธรรมในการเผชิญกับภัยพิบัติทางภูมิอากาศอย่างรุนแรงในฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ต้องกลับไปเริ่มนับหนึ่งใหม่อีกครั้ง มันเป็นไปไม่ได้เลยที่จะอธิบายเรื่องราวการเผชิญกับซูเปอร์ไต้ฝุ่น พลังที่แท้จริงของธรรมชาติ หรือความวิตกกังวลตามสัญชาตญาณ รวมถึงความโศกเศร้าอันยาวนานนี้ให้ออกมาเป็นคำพูดได้
-
รายงานฉบับใหม่ระบุ สภาพภูมิอากาศสุดขั้วเป็นภัยคุกคามความมั่นคงทางอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของแอฟริกา
9 พฤศจิกายน 2563, โจฮันเนสเบิร์ก - รายงานจากกรีนพีซแอฟริการะบุ เหตุการณ์สภาพภูมิอากาศสุดขั้ว” หรือ Extreme Weather Event เช่น คลื่นความร้อน อุทกภัย และฝนตกหนัก เกิดขึ้นในแอฟริกาบ่อยครั้งในหลายพื้นที่ของแอฟริกา ซึ่งส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพประชาชน ความมั่นคงทางอาหาร สันติภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
-
7 เหตุผลที่ทำไมอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อุตสาหรรมเนื้อสัตว์ได้ทิ้งร่องรอยความเสียหายไว้มากมายทั่วโลก ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไฟป่า ไปจนถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชน ชีวิตของผู้คนนับล้านขึ้นอยู่กับการลดการบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมลงอย่างรวดเร็ว และไม่ใช่เพียงแค่เนื้อแดงเท่านั้นที่เป็นปัญหา
-
ตรวจสอบนโยบายรัฐบาลในฤดูฝุ่นพิษ PM2.5 ที่จะมาถึง
นับตั้งแต่แถลงการณ์ #พอกันทีขออากาศดีคืนมา ที่เป็นข้อเสนอยื่นต่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาในวันที่ 23 มกราคม 2563 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันซึ่งวิกฤตฝุ่น PM2.5 กำลังมาเยือนอีกครั้ง เรามาดูกันว่ามาตรการและนโยบายรัฐในเรื่องนี้ไปถึงไหนอย่างไร ต่อไปนี้คือการวิเคราะห์ของเรา
-
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้ปะการังในไต้หวันกำลังฟอกขาว?
ที่ผ่านมาไต้หวันเป็นเสมือนบ้านที่สุขสบายให้กับปะการังมากมายหลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งพบได้อย่างในที่อื่นๆ แต่ในปัจจุบัน สภาพภูมิอากาศที่ร้อนสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์กลับทำให้เหล่าปะการังต้องเผชิญกับปรากฏการณ์ "การฟอกขาว" ในระดับรุนแรง