All articles
-
เขตคุ้มครองธรรมชาติแห่งอาร์กติก
ขณะนี้ น้ำแข็งในทะเลอาร์กติกกำลังละลาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ทำให้ปริมาณน้ำแข็งในทะเลช่วงฤดูร้อนลดลงไปอย่างน้อยร้อยละ 75 ซึ่งเป็นอัตราที่ไม่เคยประสบมาก่อนในประวัติศาสตร์มนุษย์
-
จากอาร์กติกสู่ไทย
ผลกระทบของสภาวะโลกร้อนที่ไม่ได้อยู่แค่เพียงในอาร์กติก การดำรงอยู่ของพวกเราล้วนเกี่ยวข้องกับอาร์กติก นอกเหนือจากจะเป็นบ้านของสัตว์นานาสายพันธุ์แล้ว ภูมิภาคนี้ยังมีบทบาทในการรักษาสภาพภูมิอากาศของโลก โดยทำหน้าที่เป็นเสมือนตู้เย็นของโลกคอยรักษาระดับความเย็นของโลกทั้งใบไว้
-
เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว เผาป่าสะเทือนถึงผืนทะเล
คุณเชื่อเรื่องเช่นนี้หรือไม่ อาจฟังดูเหลือเชื่อ แต่วลีนี้ขยายความถึง “ทฤษฏีไร้ระเบียบ” (Chaos Theory) ซึ่งอธิบายว่าการทำลายธรรมชาติแม้เพียงเล็กน้อยจะส่งผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อโลกของเรา
-
อาร์กติกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นในรูปแบบของมรสุมพายุซึ่งเราต่างรับรู้และเผชิญกับมหันตภัยของมันมาหลายต่อหลายครั้งแล้ว เช่น พายุใต้ฝุ่นที่ทวีความรุนแรงและเกิดบ่อยยิ่งขึ้นในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
เมื่อถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ
โลกของเรากำลังเดินมาถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ และเราจำเป็นต้องป้องกันผลกระทบที่ร้ายแรงอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หากยังปล่อยให้เป็นเช่นนี้ต่อไปจะยิ่งทำให้ยาก หรือแม้แต่แทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะป้องกันภัยพิบัติในวงกว้างของสภาวะโลกร้อน คงจะมีมูลค่าความเสียหายมหาศาล
-
อันตรายของน้ำมันในอาร์กติก
การขุดเจาะน้ำมันในอาร์กติกเป็นธุรกิจที่อันตรายและมีความเสี่ยงสูง อีกทั้งหากมีการรั่วไหลของน้ำมันภายใต้ผืนน้ำแข็งนี้ก็จะส่งผลกระทบอันเป็นภัยพิบัติต่อภูมิภาคดั้งเดิมที่สวยงามโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์แห่งหนึ่งของโลก ภัยจากอุบัติเหตุดังกล่าวมีให้เห็นแล้วในอดีต แต่แผนการรับผิดชอบจากอุตสาหกรรมน้ำมันกลับยังมีไม่เคยมีอย่างเพียงพอและเหมาะสม
-
ทะเลน้ำแข็งแถบอาร์กติก
ทั่วโลกต่างจับจ้องที่ขั้วโลกเหนือว่าทะเลน้ำแข็งมีขนาดเหลืออยู่อย่างน้อยเท่าไหร่พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงกลางเดือนกันยายนของทุกปี
-
อาร์กติกและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
อุณหภูมิในอาร์กติกกำลังสูงขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่าส่วนอื่นๆ ของโลก และกำลังเผชิญกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงที่สุดบนโลก ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด คือ การหดตัวอย่างรวดเร็วของความหนาของน้ำแข็ง และปริมาณพื้นที่ทะเลน้ำแข็ง
-
ภาวะโลกร้อน กับ การเกิดรูโหว่ของชั้นโอโซน
การเกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน ยังเป็นประเด็นที่หลายคนยังเข้าใจผิดว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น การที่ชั้นโอโซนถูกทำลายจนเกิดรูโหว่ที่เราได้ยินกันนั้น มิได้เป็นสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น แต่จะทำให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตผ่านเข้ามายังพื้นโลกมากขึ้น
-
“โลกร้อน 5 องศา” เรื่องและภาพความจริงก่อนโลกหายนะ
หยุดโลกร้อน! ด้วยตัวเรา กับหนังสือ ‘โลกร้อน 5 องศา’ “คำถามไม่ได้อยู่ที่ว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นแล้วหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่า ในสถานการณ์อันเร่งด่วนนี้ เราทั้งหลายจะสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้เร็วพอหรือไม่” โคฟี อันนัน อดีตเลขาธิการสหประชาติ พฤศจิกายน 2549