All articles
-
เส้นทางการต่อสู้คัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย : จุดยืนของเราคือไม่เอาเหมืองถ่านหิน!
“4 ปีที่ผ่านมา เราต่อสู้ตามสิทธิของตัวเองและสู้เพื่อชุมชนของเรา เราคิดว่าไม่ควรมีชุมชนไหนควรได้รับผลกระทบจากถ่านหินหรือการพัฒนาของรัฐที่ไม่คำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รัฐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทุนควรเข้าใจบริบทชุมชน วิถีชุมชน และคำนึงถึงตัวชุมชนมากๆ และไม่เอาเปรียบชาวบ้าน
-
เวลาของถ่านหินหมดลงแล้ว: ครบรอบ 4 ปี การต่อสู้โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย ชุมชนและภาคประชาสังคมร่วมเรียกร้องรัฐบาลใหม่ปลดระวางถ่านหิน
กรีนพีซ ประเทศไทยและเครือข่ายจัดกิจกรรม ‘Omkoi Coal or Home นิทรรศการ 4 ปี การต่อสู้และเสียงคนอมก๋อย’ ที่ลานหน้าคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อทบทวนการต่อสู้ตลอด 4…
-
อมก๋อย แหล่งอากาศดีที่อาจสิ้นสูญ : แผนที่ความเสี่ยงต่อมลพิษทางอากาศกรณีดำเนินโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย ตำบลกะเบอะดิน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อให้กระบวนประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (CHIA) ดำเนินไปจนสุดกระบวนการอันจะนำมาสู่การนำข้อมูลไปประกอบการตัดสินใจของภาคส่วนต่างๆ โครงการวิจัยจึงดำเนินการในขั้นตอนการประเมินผลกระทบดังกล่าวเพื่อตอบโจทย์ด้านมลพิษอากาศอันเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญที่กำหนดขอบเขตโดยชุมชนอมก๋อย
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมที่เลือนลาง ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 11 กันยายน 2566
จากการเลือกตั้ง 2566 มาสู่การจัดตั้งรัฐบาล กรีนพีซ ประเทศไทยติดตามตรวจสอบนโยบายสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศ เริ่มต้นจากการทำ check list ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา
-
มลพิษทางอากาศเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนทั่วโลกไม่เท่ากัน
มลพิษทางอากาศจากฝุ่นละอองขนาดเล็กเป็นปัจจัยเสี่ยงภายนอกต่อสุขภาพมนุษย์ที่ร้ายแรงที่สุด และผลกระทบต่ออายุเฉลี่ยส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ใน 6 ประเทศ ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีเครื่องมือพื้นฐานที่จะช่วยฟื้นฟูคุณภาพอากาศ
-
ยินดีต้อนรับสู่ห้องเรียนหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ในวาระที่รัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภาโดยมีหลายประเด็นว่าด้วยนโยบายพลังงาน กรีนพีซ ประเทศไทย จึงต้อนรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานคนใหม่ ‘นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค’ เข้าสู่ห้องเรียนวิชาหน้าที่รัฐมนตรี และชวนทบทวนว่าหน้าที่เร่งด่วน 4 อย่างด้วยกัน ของกระทรวงพลังงานที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะมากที่สุดมีอะไรบ้าง ?
-
“Climate Finance & Thailand Taxonomy; Opportunity and challenge” กลไกทางการเงินและการจัดกลุ่มกิจกรรมสีเขียวของไทย บนโอกาสและความท้าทาย
27 ปีต่อจากนี้ จะเป็นเวลาที่สำคัญมากสำหรับประเทศไทยและสำหรับโลกของเราที่จะขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านครั้งสำคัญต่อไปในอนาคต โลกและประชากรจะเป็นไปในทิศทางไหน? ในขณะที่เรามีทั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 รวมถึงเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2065 ซึ่งประเทศไทยได้ให้สัญญาไว้ในการประชุม COP26
-
ปี 2566 นี้ จีนอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเพิ่มขึ้นเป็น 50.4 กิกะวัตต์ อาจส่งผลต่อการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานและไม่รอดพ้นจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ภายในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี 2566 โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ทั่วประเทศ ซึ่งมีกำลังผลิตรวมอย่างน้อย 50.4 กิกะวัตต์ (GW) ได้รับอนุมัติจากทางการจีน
-
ศาลปกครองพิพากษาคดี PM2.5 สั่งให้กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำ PRTR
ศาลปกครองมีคำพิพากษาให้กระทรวงอุตสาหกรรมโดยรัฐมนตรีว่าการ จัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register) หรือเรียกว่า PRTR ภายใน 60 วัน
-
ญี่ปุ่นประกาศวันทิ้งน้ำปนเปื้อนรังสีลงทะเลจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
กรีนพีซ ญี่ปุ่น วิจารณ์การตัดสินใจของรัฐบาลญี่ปุ่นที่ประกาศวันเริ่มต้นทิ้งน้ำปนเปื้อนรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก