All articles
-
กองทุนแสงอาทิตย์ยอดบริจาคทะลุเป้าสู่โรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่7
เปิดตัวแล้วอย่างยิ่งใหญ่ โรงพยาบาลแสงอาทิตย์พระปกเกล้า โรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่ 7 ที่เกิดขึ้นจากเงินบริจาคของประชาชนทั่วประเทศผ่านกองทุนแสงอาทิตย์และโรงพยาบาลแห่งแรกของภาคตะวันออก
-
แถลงการณ์ “พอกันที #ขออากาศดีคืนมา”
เพื่อเริ่มต้นปกป้องประชาชนจากผลกระทบฝุ่นพิษ PM2.5 รัฐบาลต้องปรับ “มาตรฐาน PM 2.5 ในบรรยากาศ" ของประเทศไทยให้ใกล้เคียงกับเป้าหมายชั่วคราวที่ 3 ของ WHO(Interim Target 3) โดยที่ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง คือ 35 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และค่าเฉลี่ยรายปีคือ 12 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ภายในปี พ.ศ.2563 ในขณะเดียวกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่นพิษ PM2.5 ในสิ่งแวดล้อม รัฐบาลต้องเน้นมาตรการการลดการปล่อยจากแหล่งกำเนิดมลพิษ
-
ประชาชนหรืออุตสาหกรรม ใครได้ผลประโยชน์จากฝุ่นพิษ PM2.5
วาทะกรรมหนึ่งในกระบวนการแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษ PM2.5 ของรัฐบาลนั้น ได้กล่าวไว้ว่า “ให้แก้ปัญหาที่ตัวเราเอง” ซึ่งส่วนหนึ่งมีความถูกต้อง แต่ความจริงอีกส่วนที่ภาครัฐไม่เอ่ยปาก คือ ปริมาณฝุ่นพิษอันมหาศาลทั่วประเทศนั้น ผู้ที่ถูกพูดถึงน้อยแต่ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดอาจจะเป็นภาคอุตสาหกรรม
-
3 เรื่องที่ลุงข้างบ้านไม่ได้บอกเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ เศรษฐศาสตร์และ GDP
เชื่อว่าแต่ละคนมีนิยามคุณภาพชีวิตที่ดีแตกต่างกันไปและนั่นก็ไม่มีถูกไม่มีผิด แต่เชื่อว่าไม่ว่านิยามนั้นจะเป็นอย่างไร การมีคุณภาพชีวิตที่ดีควรจะเริ่มต้นจากการมีปัจจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพอย่าง “อากาศที่เราหายใจ”
-
ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
-
#ของมันต้องมี หน้ากากN95 เครื่องฟอกอากาศเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย?
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมามีการถกเถียงประเด็นเรื่อง “ผ้าอนามัยเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย” หรือไม่ แต่เมื่อมาสัปดาห์นี้ที่มลพิษทางอากาศสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด พอมองไปที่กล่องใส่หน้ากากอนามัย N95 มีวางไว้บนชั้นหนังสือในห้องแล้วก็อดมีคำถามไม่ได้ว่า “หน้ากากอนามัย N95 เครืองฟอกอากาศถือว่าเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยหรือไม่?”
-
พลังงานแสงอาทิตย์ในทิวเขา : เรื่องราวการใช้โซลาร์เซลล์ต่อชีวิตผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกล
ปัญหาของการไม่สามารถใช้กระแสไฟฟ้าได้นั้น ไม่เพียงแต่จะกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชนที่อาศัยอยู่บนที่ราบสูงและห่างไกลเท่านั้น แต่ยังกระทบต่อสถานการบริการสาธารณสุขอีกด้วย
-
ผู้ก่อมลพิษ (ไม่) ต้องจ่ายที่มวกเหล็ก?
แหล่งของน้ำนมดิบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยกำลังเสี่ยงต่อการปนเปื้อนมลพิษจากถ่านหิน
-
เปิดตัวโรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่6 จากการบริจาคของประชาชน
นักวิ่งกว่า 600 คนร่วมงานวิ่ง “กินลมชมเมย” เพื่อระดมทุนร่วมกับโรงพยาบาลท่าสองยางสมทบทุนให้กับกองทุนแสงอาทิตย์เพื่อนำมาเป็นค่าใช้จ่ายติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา(Solar PV Rooftop)
-
“พลังงานแสงอาทิตย์” เส้นทางสู่ “ขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ”
รองนายกเทศมนตรีจังหวัดขอนแก่น คุณจุลนพ ทองโสพิศ และ คุณทัศนัย ประจวบมอญ ผู้อำนวยการส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม งานบริหารกองทุนสุขภาพ เทศบาลนครขอนแก่น ในฐานะคณะผู้บริหารเทศบาลนครขอนแก่น และคณะทำงานโครงการคนขอนแก่นหัวใจไร้มลพิษ พูดคุยถึงนโยบาย “ขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ” ที่ทางเทศบาลมีเป้าหมายจะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้ได้ 105,000 ตันภายในระยะเวลา 4 ปี