All articles
-
สรุปสถานการณ์ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมครึ่งปีแรก 2566 : ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงในไทยท่ามกลางวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
แม้ว่าในปี 2566 นี้จะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์โรคระบาดที่ทุเลาลงและผู้คนได้กลับมาใช้ชีวิตที่เกือบจะเหมือนเดิมอีกครั้ง แต่ทั้งไทยและทั่วโลกยังคงต้องจับตาวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสถานการณ์การคัดค้านและเรียกร้องให้กลุ่มบรรษัทผู้ก่อมลพิษหลัก ต้องหยุด การฟอกเขียว และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากต้นทาง รวมทั้งต้องจ่ายค่าความสูญเสียและเสียหายต่อกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอีกด้วย
-
เหมืองทะเลลึกคืออะไร มีผลกระทบอะไรบ้าง?
โครงการเหมืองทะเลลึก เป็นโครงการเหมืองที่คาดว่าจะขุดเจาะแร่โลหะและแร่อื่น ๆ จากก้นทะเลขึ้นมา แร่เหล่านี้อยู่ลึกลงไปจากพื้นผิวอีกกว่าหลายพันเมตร เช่น แร่แมงกานีส นิกเกิล และโคบอลท์
-
สนธิสัญญาทะเลหลวง : ร่างผ่าน สมาชิกยูเอ็นรับ สถานีต่อไป… รัฐบาล
หลังใช้เวลาพูดคุย ต่อสู้ และต่อรองกันมาหลายสิบปี ล่าสุดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายนที่ผ่านมา รัฐบาลที่เข้าร่วมประชุมองค์การสหประชาชาติได้ลงรับสนธิสัญญาทะเลหลวงอย่างเป็นทางการ… สักที
-
คุยเรื่องเลกับ “เต่าไข่” : กลุ่มก๊ะ แดนจะนะผู้แหกขนบภาพจำทำประมงต้องเป็นชาย
ถ้าพูดถึงการทำประมง หลายคนมักมองว่าเป็นอาชีพสำหรับผู้ชาย แต่ที่อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลานั้นไม่ใช่ เรามีโอกาสได้พูดคุยกับทั้งก๊ะบ๊ะ ก๊ะหนับ และก๊ะส๊ะ แห่งอำเภอจะนะ ผู้แหกขนบภาพจำว่าผู้หญิงต้องเลี้ยงลูกอยู่บ้าน
-
อย่าลืม ‘จะนะ’ และทะเลไทย : เพราะการพัฒนาพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งต้องฟังเสียงชุมชนในพื้นที่
ในการออกแบบนโยบายปกป้องทะเลและมหาสมุทร ผู้ออกแบบหรือพรรคการเมืองควรจะต้องให้ความสำคัญกับสิทธิชุมชนและการกระจายอำนาจสู่ประชาชนในการกำหนดอนาคตตนเอง บนข้อมูลด้านทรัพยากรและหลากหลายทางชีวภาพของทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งศักยภาพของชุมชน
-
กลุ่มผู้นำต้องไม่เพิกเฉยสนธิสัญญาทะเลหลวง โดยไม่อนุมัติโครงการเหมืองใต้ทะเลลึก
การประชุมองค์กรพื้นทะเลระหว่างประเทศครั้งที่ 28 เริ่มต้นด้วยการรวมตัวกันของผู้นำระดับโลกที่เมืองคิงสตัน ในจาไมกา หลังจากการประชุมสนธิสัญญาทะเลหลวงโดยองค์การสหประชาชาติจบลงไม่ถึงสองสัปดาห์ การประชุมนี้ถือเป็นช่วงเวลาสำคัญของอนาคตของมหาสมุทร เพราะบริษัทเหมืองใต้ทะเลลึกกำลังเร่งผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยง
-
สนธิสัญญาทะเลหลวงผ่านแล้ว! ก้าวประวัติศาสตร์ปกป้องมหาสมุทรโลก
ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ความทุ่มเทของนักวิทยาศาสตร์ นักอนุรักษ์ นักกิจกรรม และผู้คนทั่วโลกพยายามผลักดันให้เกิดสนธิสัญญาดังกล่าว บล็อกนี้เราจึงจะพาย้อนดูที่มาของการเจรจาสนธิสัญญา ช่วงเวลาประวัติศาสตร์ และอนาคตของมหาสมุทรโลกหลังได้สนธิสัญญา
-
วันสตรีสากล: กรีนพีซร่วมกับชาวประมงหญิงเรียกร้องสิทธิสตรีในมหาสมุทร
ดาการ์, เซเนกัล 8 มีนาคม 2566 - กรีนพีซลงนามเป็นส่วนหนึ่งในข้อเรียกร้องของชุมชนประมงชายฝั่งถึงผู้นำและรัฐบาล ในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากร รวมถึงรับประกันสิทธิผู้หญิงในกระบวนการจัดการทรัพยากร
-
เจรจาสนธิสัญญาทะเลหลวงจะเริ่มขึ้นในวันจันทร์นี้ เพื่อหาข้อสรุปกฎหมายปกป้องมหาสมุทรโลก
การเจรจาเพื่อหาข้อสรุปสนธิสัญญาทะเลหลวงจะเริ่มขึ้นในวันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ซึ่งหากการประชุมครั้งนี้ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ จะทำให้เป้าหมายในการปกป้องพื้นที่ร้อยละ 30 ของมหาสมุทรทั้งหมด ภายในปี 2573 ล้มเหลว
-
ทำไมคนจะนะออกมาค้านคำสั่งย้าย “หมอสุภัทร”
ชาวจะนะกว่าห้าสิบชีวิตเดินทางกว่าสิบห้าชั่วโมงมาที่กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี เรียกร้องให้กระทรวงทบทวนคำสั่งย้าย นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ หรือ “หมอสุภัทร"