All articles
-
กระบี่สามารถมีระบบพลังงานหมุนเวียน 100% ได้ภายในปี พ.ศ. 2569
กระบี่สามารถเป็นผู้นำเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยและบรรลุเป้าหมายระบบพลังงาน หมุนเวียน 100% ได้ภายในปี 2569 รายงานที่ทำขึ้นโดยเครือข่ายปกป้องอันดามันจากถ่านหิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ และกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระบุว่าวิสัยทัศน์นี้ทำให้เกิดขึ้นจริงได้โดยระบบพลังงานแบบผสมผสานจากชีวมวล แก๊สชีวภาพ แสงอาทิตย์ ลม และพลังงานน้ำขนาดเล็กที่จัดการโดยระบบสายส่งอัจฉริยะ (smart grid)
-
Krabi goes green
พบว่าจังหวัดกระบี่มีศักยภาพกำลังผลิตติดตั้งได้สูงสุดรวม 1,676 เมกะวัตต์ และสามารถเป็นจังหวัดต้นแบบที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนได้อย่างสมบูรณ์ 100%
-
การจ้างงานพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย
รายงานการเปรียบเทียบการจ้างงานโดยตรงของพลังงานหมุนเวียนแต่ละประเภทจะพิจารณา อัตราการจ้างงานโดยตรงคิดเป็นตำแหน่งงานต่อการผลิตไฟฟ้าหนึ่งล้านหน่วย (หรือ 1 GWh)
-
ระบบพลังงานหมุนเวียน 100% สามารถสร้างงานในประเทศไทยได้ราว 170,000 ตำแหน่งภายในปี พ.ศ. 2593
รายงานล่าสุดระบุว่าการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบบพลังงานหมุนเวียน 100% จะสร้างงานได้ราว 170,000 ตำแหน่งในอีก 30 ปีข้างหน้า
-
กรีนพีซรณรงค์ลดกินเนื้อสัตว์ และร่วมกินผักให้มากขึ้น ในวันงดเนื้อสัตว์โลก
เนื่องในวันงดเนื้อสัตว์โลก กรีนพีซในหลายประเทศได้จัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันนโยบายอาหารที่ยั่งยืน ในประเทศไทย กรีนพีซจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงความเชื่อมโยงของการทำปศุสัตว์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนำเสนอประโยชน์ที่จะได้จากการกินอาหารที่ทำจากพืชผักเป็นหลัก
-
ผ.ผัก กินดี
การเปลี่ยนมากินพืชผักให้มากขึ้นไม่ใช่แค่ดีต่อสุขภาพ แต่ยังอร่อยอีกด้วย แผ่นภาพนี้คือผักนานาชนิดที่อุดมด้วยสารอาหารที่เราอยากชวนให้คุณลอง
-
มลพิษพลาสติกไปถึงแอนตาร์กติก
ข่าวด่วน: นักวิทยาศาสตร์ของกรีนพีซค้นพบพลาสติกและสารเคมีอันตรายในภูมิภาคแอนตาร์กติก
-
ทีมสำรวจของกรีนพีซพบขยะพลาสติกและสารพิษอันตรายในน่านน้ำแอนตาร์กติก
ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำและหิมะในแถบแอนตาร์กติก พบการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกและสารเคมีที่ไม่ย่อยสลายอยู่ในตัวอย่าง
-
มายาคติ: ระบบสายส่งไฟฟ้าต้องการการผลิตไฟฟ้า 24 ชั่วโมง(ไฟฟ้าฐาน)ซึ่งพลังงานหมุนเวียนทำไม่ได้
ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสิ่งที่เราเรียกกันว่า ‘baseload power’ มักจะถูกใช้เป็นข้ออ้างเพื่อให้เราต้องอาศัยการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงฟอสซิลขนาดใหญ่และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
-
พาราควอต สารอันตรายที่ประเทศผู้ผลิตและทั่วโลกยังต้องแบน แต่ไทยยังปล่อยให้ใช้ต่อ
มติอันไม่เป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมนี้ได้สร้างความสงสัยให้กับภาคประชาสังคมเป็นอย่างมาก