All articles
-
บทวิพากษ์ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ.2561-2573)
การวิเคราะห์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
ปัว เล เปง: ด่านหน้าผู้ปกป้องมาเลเซียจากวิกฤตมลพิษพลาสติก
ปัว เล เปง (Pua Lay Peng)เป็นแกนนำเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่า Kuala Langat Environmental Action Group ซึ่งออกมาเรียกร้องทางโลกออนไลน์ถึงปัญหาการนำเข้าขยะพลาสติกในเมืองเจนจารอม ของรัฐเซลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย
-
วิกฤติอุทกภัยที่เกิดจากมลพิษพลาสติกในแคเมอรูน
ทุก ๆ ปี ดูอาลา เมืองที่ฉันอาศัยอยู่ต้องเผชิญกับน้ำท่วม ที่ทำลายทั้งบ้านเรือน ร้านค้า ไปจนถึงถนนหนทาง กระทบคุณภาพของน้ำดื่มและอาหาร ผู้คนจำนวนมากต้องสูญเสียบ้าน วิถีชีวิตที่พวกเขาคุ้นเคย หรือแม้กระทั่งคนในครอบครัว
-
แนะนำ 9 หนังสิ่งแวดล้อมสำหรับ Watch From Home
เราอยากชวนมาดูหนังเพื่อเปิดมุมมองที่หลากหลายไปกับภาพยนตร์และสารคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่สามารถดูได้จากที่บ้านคุณ ที่ชวนให้เราตั้งคำถามต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน
-
แถลงการณ์ (ฉบับที่ 2): คัดค้านการผ่อนปรนการนำเข้าเศษพลาสติกหยุดการนำเข้าเศษพลาสติกอย่างเด็ดขาดภายในปี 2564
ปัญหาขยะพลาสติกเริ่มกลายเป็นประเด็นร้อนของสังคมไทย ภายหลังจากรัฐบาลจีนออกกฎหมายห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยเฉพาะการห้ามนำเข้าเศษพลาสติกต่างประเทศ นโยบายดังกล่าวส่งผลให้ผู้ประกอบการรีไซเคิลขยะพลาสติกในประเทศจีนหลายรายได้ย้ายฐานการรีไซเคิลไปยังประเทศต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอาเซียนและประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากปริมาณนำเข้าเศษพลาสติกที่อาจแฝงด้วยขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา จนทะลุ 5 แสนกว่าตันในปี 2561 และข่าวการจับกุมการลักลอบนำเข้าขยะพลาสติกหลายราย ที่มีการสำแดงเท็จว่าเป็น “เศษพลาสติก”
-
ขยะพลาสติกล้นโลก: เมื่อไหร่รัฐและผู้ผลิตจะเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหา?
ระบบการจัดการขยะโดยรวมของประเทศไทย ทำให้ผู้คนไม่จำเป็นต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมก็ได้ คนทิ้งก็ไม่ต้องรับผิดชอบอะไรเลย และผู้ผลิตเองก็ไม่ต้องรับผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน
-
การลดขยะพลาสติกเปรียบเสมือนการเล่นเกมที่เราจะไม่มีวันเบื่อ
พีช ปณิชา เมธาวิชิตชัย ได้บอกเล่าเรื่องราวมุมมองเกี่ยวกับพลาสติกของตนเอง จนกลายเป็นจุดเริ่มต้นจากความชอบและนิสัยส่วนตัวเล็กๆที่ไม่รู้ตัวด้วยซ้ำว่าเป็นการช่วยลดขยะในรูปแบบหนึ่งซึ่งพัฒนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงมุมมองและพฤติกรรมของการลดใช้พลาสติกในอนาคต
-
ผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย หมิงตี้เคมิคอลต้องจ่ายเท่าไหร่ !?!
“เหตุการณ์นี้เหมือนเดจาวู ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แล้วในอนาคตก็จะเกิดอีก” ดร.สมนึก จงมีวศิณ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ กลุ่มศึกษาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC Watch) เริ่มต้นการพูดคุยในเวทีเสวนา “#ผนงรจตกม: ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?” ซึ่งจัดโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม EEC Watch และกรีนพีซ ประเทศไทย จากกรณีการระเบิดและอุบัติภัยเพลิงสารเคมีจากถังเก็บโพลีสไตรีน(polystyrene) และเพนเทน(pentane) ซึ่งเป็นสารเคมีตั้งต้นในการผลิตโฟม EPS (Expandable Polystyrene)ของ บริษัท หมิงตี้เคมีคอล จำกัด ในเครือ Ming…
-
ไมโครพลาสติกจำนวนมหาศาลปกคลุมชายฝั่งทะเลตะวันตกของศรีลังกา
ไมโครพลาสติกจำนวนมหาศาลที่ใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งปกคลุมชายฝั่งทะเลตะวันตกของศรีลังกา
-
ครั้งแรกในเอเชีย! เซเว่น อีเลฟเว่นไต้หวันประกาศยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เซเว่น อีเลฟเว่นไต้หวัน เป็นร้านค้าปลีกรายแรกในเอเชียที่ออกมาให้คำมั่นว่าจะยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง นี่เป็นความคืบหน้าที่สำคัญของการรณรงค์ยุติมลพิษพลาสติกของกรีนพีซ ไต้หวัน