All articles
-
ประสบการณ์จากคนธรรมดาที่อยากลดพลาสติก แค่เริ่มที่ตัวเราจะเอาชนะวิกฤตมลพิษพลาสติกได้หรือไม่?
ปีที่ผ่านมา เรามีโอกาสได้คุยกับหลาย ๆ คนที่สนใจปัญหาขยะพลาสติกมากยิ่งขึ้นซึ่งทำให้รู้ว่าจริง ๆ แล้ว จุดเริ่มต้นของการหันมาสนใจปัญหาขยะพลาสติกอาจไม่จำเป็นต้องยิ่งใหญ่ แต่อาจเริ่มจากจุดเล็ก ๆ
-
สรุปสถานการณ์ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมครึ่งปีแรก 2566 : ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงในไทยท่ามกลางวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
แม้ว่าในปี 2566 นี้จะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์โรคระบาดที่ทุเลาลงและผู้คนได้กลับมาใช้ชีวิตที่เกือบจะเหมือนเดิมอีกครั้ง แต่ทั้งไทยและทั่วโลกยังคงต้องจับตาวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสถานการณ์การคัดค้านและเรียกร้องให้กลุ่มบรรษัทผู้ก่อมลพิษหลัก ต้องหยุด การฟอกเขียว และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากต้นทาง รวมทั้งต้องจ่ายค่าความสูญเสียและเสียหายต่อกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอีกด้วย
-
พูดคุยกับ ‘ทอฝัน’ อาสาสมัครกรีนพีซที่เริ่มเส้นทางนักสำรวจขยะพลาสติกสู่การขับเคลื่อนประเด็น Fast Fashion
4 ปีที่แล้วเราได้คุยกับทอฝัน กันทะมูล (แตงกวา) ผ่านกิจกรรม “Brand Audit เก็บ สังเกต บันทึก รู้จักที่มาของขยะผ่านแบรนด์” 4 ให้หลังเราได้คุยกับแตงกวาอีกครั้ง ดูกันดีกว่านักสำรวจขยะพลาสติกของเราเป็นอย่างไรบ้าง
-
ครึ่งปีผ่านไป คุณกับเรา ได้ขับเคลื่อนงานรณรงค์ลดพลาสติกอะไรร่วมกันบ้าง
มาดูสรุปกันดีกว่าว่าทั้งเราและคุณ ช่วยกันขับเคลื่อนประเด็นพลาสติก (ไม่ว่าจะเป็นการติดตาม แชร์ข่าวสาร ร่วมกิจกรรมลดขยะ หรือพูดคุยในวงสนทนากับเพื่อน ๆ) อะไรบ้าง
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทยต่อกรอบการเจรจาและท่าทีของประเทศไทยในการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลว่าด้วยสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty)
ในเดือนมีนาคม 2565 ที่ประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEA) ซึ่งเป็นเวทีการประชุม สหประชาชาติระดับสูงที่สุดในการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของโลก ได้รับรองข้อมติยุติมลพิษจากพลาสติก : ด้วยมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ พร้อมจัดตั้ง คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Negitiating Committee on Plastic Pollution) ขึ้นเพื่อเจรจาและจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศด้านมลพิษ จากพลาสติกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางทะเล หรืออีกนัยหนึ่งคือ “สนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty)”
-
‘แฟชั่นหมุนเวียน’ อาจแค่การฟอกเขียว แต่ Slow Fashion คือทางออกสู่อนาคต
ประชาชนในเคนยาและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้กำลังเผชิญปัญหาเสื้อผ้าไม่ใช้แล้ว และเสื้อผ้าปริมาณมหาศาลที่ไม่เป็นที่ต้องการในประเทศร่ำรวยทะลักเข้าสู่ประเทศตัวเอง ซึ่งปริมาณของมันมากเกินกว่าความต้องการของตลาดในท้องถิ่น
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องสหประชาชาติหยุดกลุ่มอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อาจลดทอนการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ภาคประชาสังคมและนักวิทยาศาสตร์กว่า 150 กลุ่มทั่วทุกมุมโลก รวมถึงนักชาติพันธุ์วิทยา นักมานุษยวิทยาและดร.เจน กู๊ดดอลล์ ทูตสันติภาพของสหประชาชาติได้ร่วมลงนามในจดหมายเปิดผนึกถึงสหประชาชาติให้จับตามองอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลระหว่างการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อให้การเจรจาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพ
-
ทำไมเราต้องเรียกร้อง ‘สนธิสัญญาพลาสติกโลก’
เพราะสนธิสัญญาพลาสติกโลกจะเป็นโอกาสที่จะทำให้เรายุติมลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นได้ ซึ่งก่อนหน้านี้การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกเริ่มขึ้นในปี 2565 และเรามีเวลาจนถึงปี 2567 เพื่อทำให้สนธิสัญญาฉบับนี้เกิดขึ้นจริง มีความเข้มแข็ง มุ่งมั่น และมีผลบังคับใช้อย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
-
อย่าให้เมืองจมที่รุ่นเรา : นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องไม่ลืมเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เพราะไทยเป็นหนึ่งในประเทศ 10 อันดับต้นที่มีความเสี่ยงมากที่สุดในโลกจากผลกระทบของ วิกฤตสภาพภูมิอากาศในระยะยาว กรุงเทพ ฯ เป็น 1 ใน 7 เมือง ที่กำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้นอีกด้วย
-
ปัว เล เปง นักต่อสู้ผลักดันขยะกลับประเทศต้นทาง ผู้เชื่อว่า การรีไซเคิลคือการฟอกเขียว
นักเคลื่อนไหวเรื่องปัญหาขยะพลาสติกในมาเลเซีย เธอทำงานรณรงค์ต่อต้านประเด็นนำเข้าขยะมาอย่างยาวนาน ปัวเริ่มต้นสนใจประเด็นนี้จากโรงงานรีไซเคิลขยะพลาสติกที่ตั้งอยู่ในชุมชนของเธอและมันส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน สุขภาพ มลภาวะทางอากาศ และสิ่งแวดล้อม ปัวจึงลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องบ้านเกิดของตนเอง ณ เมืองเจนจารอม รัฐเซลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย