-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
บริษัทข้ามชาติทั้งหลายกำลังลงทุนในเทคโนโลยีการรีไซเคิลเชิงเคมีซึ่งมีความเสี่ยงและทำให้เกิดความหวังที่ผิดๆ ซึ่งทำให้ผู้บริโภคยังคงยึดติดกับการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกต่อไป
-
ส่องมาตรการของภาครัฐในวันที่ฝุ่น PM2.5 ถล่มเมือง (อีกครั้ง)
หลังจากฤดูกาลฝุ่นช่วงต้นปี 2562 ในหลายพื้นที่ของประเทศได้ผ่านพ้นไปท่ามกลางคำถามของสาธารณะชนต่อมาตรการรับมือของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ช่วงเดือนกันยายน 2562 ที่ผ่านมามลพิษทางอากาศจากหมอกควันข้ามพรมแดนในสุมาตราและกาลิมันตันของอินโดนีเซียส่งผลให้คุณภาพอากาศรวมถึง PM2.5 อยู่ในระดับที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อประชาชนหลายจังหวัดทางภาคใต้
-
บริษัทปาล์มน้ำมันและเยื่อกระดาษที่มีพื้นที่เผาไหม้มากที่สุดยังคงลอยนวลในขณะที่ไฟป่าในอินโดนีเซียทวีความรุนแรง
ถึงแม้ว่าวิกฤตไฟป่าอินโดนีเซียยังดำเนินอยู่ ยังไม่มีการลงโทษทางแพ่งและทางการปกครองอย่างรุนแรงใด ๆ ต่อบริษัทปาล์มน้ำมันสิบแห่งที่มีพื้นที่ที่ถูกเผาไหม้(burn scar)มากที่สุดระหว่างปีพ.ศ. 2558-2561 ยิ่งไปกว่านั้น รัฐบาลอินโดนีเซียยังไม่ถอนใบอนุญาตผู้ผลิตปาล์มน้ำมันอันเนื่องมาจากการเกิดไฟป่าที่ส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศจากหมอกควันข้ามพรมแดนแม้แต่รายเดียว
-
เกรียตา ทุนแบร์ย ปลุกให้โลกเปลี่ยน (ตอนที่ 1)
เกรียตาเริ่มสนใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจังตั้งแต่ตอนอยู่ ป.3 อายุแค่ 9 ขวบ จากการเรียนที่โรงเรียนเมื่อครูอธิบายว่าทำไมจึงต้องช่วยกันประหยัดพลังงานและพูดถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน เธอเริ่มสนใจและศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
-
เกรียตา ทุนแบร์ย ปลุกให้โลกเปลี่ยน (ตอนที่ 2)
เกรียตาตัดสินใจเดินทางมาอเมริกา เพื่อเข้าร่วมประชุมสุดยอดเรื่องการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติ (UN Climate Summit) ที่นิวยอร์ก และการประชุมสามัญภาคีสมาชิกอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 25 ที่ซานดิเอโก ประเทศชิลี (COP25) รวมทั้งร่วมประท้วงกับขบวนการหยุดเรียนเพื่อโลกหลายแห่ง
-
เหล่าผู้นำไม่มีที่ให้หลบซ่อนแล้ว เรากำลังจับตาดูอยู่
เหล่าเยาวชนคนรุ่นใหม่จะยังคงออกมาเรียกร้องตามท้องถนน ตามโรงเรียนและตามบ้านต่อไปเรื่อย ๆ ขอแจ้งให้ทราบว่าคุณไม่มีทางหลบหลีกที่จะกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศแล้ว เพราะกลุ่มคนธรรมดาแบบพวกเราจะจับตามองคุณ
-
ชุมชนสงขลา และอาสาสมัครกรีนพีซรวมพลังเก็บขยะ ตรวจสอบแบรนด์ขยะพลาสติก ในวันทำความสะอาดชายหาดสากล
เนื่องในวันทำความสะอาดชายหาดสากล หรือ International Coastal Cleanup Day ในวันนี้ กลุ่มสงขลาฟอรั่ม, Beach for Life และอาสาสมัครกรีนพีซ ราว 60 คน ร่วมเก็บขยะชายหาดบริเวณแหลมสนอ่อน จังหวัดสงขลา และตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit)
-
3 เหตุผล ที่เราต้องช่วยกันปกป้องมหาสมุทรโลก
จากผลวิจัยระบุว่า “เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล” จะช่วยให้ชีวมวลของสัตว์ทะเลและพืชเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า และยังขยายพื้นที่ออกเป็นวงกว้าง นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเหล่าสัตว์ทะเลที่ถูกคุกคามอีกด้วย เช่น วาฬและเต่าทะเล
-
อยากให้โลกของเราเป็นแบบไหน ก็ DIY เอาเลย
เราทุกคนสามารถสร้างโลกที่เราอยากจะเห็นได้ด้วยมือของเราเอง สินค้าอิเล็กทรอนิกส์หลายอย่างสามารถซ่อมได้ แต่เราอาจต้องพยายามสักนิดในการหาแหล่งรับซ่อม นี่ไม่ใช่เพียงการลดขยะและการใช้ทรัพยากรแต่ยังเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย
-
เก็บ สังเกต บันทึก รู้จักที่มาของขยะผ่านแบรนด์
การตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) ทำขึ้นเพื่อสำรวจว่าขยะเหล่านี้เป็นของบริษัทใดมากที่สุด เพื่อสะท้อนเชิงข้อมูล และสถิติการใช้ของผู้บริโภค และผลักดันให้บริษัทมีความรับผิดชอบต่อมลพิษพลาสติก จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในการทำบรรจุภัณฑ์