-
5 เหตุผล ทำไมโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำถึงไม่ใช่ความคิดที่ดี
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ลอยล่องอยู่ในน่านน้ำแถบมหาสมุทรขั้วโลกเหนือ เป็นภัยคุกคามที่เห็นได้ชัดต่อสภาพแวดล้อมอันห่างไกลและเปราะบางนี้
-
รายงานเรื่องมลพิษทางอากาศจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ย้ำเตือนถึงความจำเป็นที่จะต้องปลดแอกจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
แผนที่แสดงระดับมลพิษทางอากาศในเมืองต่างๆ ทั่วโลกขององค์การอนามัยโลกที่เพิ่งเปิดเผยไป คือการออกมาเรียกร้องให้มีการดำเนินการเพื่อลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อันตรายอย่างจริงจัง แผนที่ชิ้นนี้จัดได้ว่าเป็นแผนที่แสดงระดับมลพิษทางอากาศที่ครอบคลุมมากที่สุดในปัจจุบัน
-
32 ปี หลังเชอร์โนบิล และโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำ
32 ปีก่อนหน้านี้ อุบัติเหตุนิวเคลียร์กลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทำให้เกิดการปนเปื้อนพื้นที่ขนาดใหญ่ในทวีปยุโรป
-
สิทธิมนุษยชน: สิทธิของการมีอากาศที่ดีหายใจ
เราทุกคนมีสิทธิที่จะหายใจเอาอากาศที่ดีเข้าไป การใช้ชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศบริสุทธิ์คือสิทธิขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์
-
เนสท์เล่ขาดเป้าหมายที่ชัดเจนในคำประกาศเพื่อต่อกรกับปัญหาพลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เนสท์เล่ บริษัทจำหน่ายอาหาร น้ำ และเครื่องดื่มที่ใหญ่ที่สุดในโลก ได้เผยแถลงการณ์กล่าวถึงเป้าหมายที่จะแก้ไขปัญหามลพิษพลาสติกที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ อย่างไรก็ดี ในแถลงการณ์นี้ไม่ได้กล่าวถึงเป้าหมายที่ชัดเจนในการลด รวมไปถึงเลิกใช้พลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียวทิ้ง
-
ลดเพื่อเพิ่ม (Less Is More)
“ลด” เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเชิงอุตสาหกรรม “เพิ่ม” สุขภาวะที่ดีของมนุษย์และโลก
-
สตรีผู้กำลังจะทวงความยุติธรรมจากภัยพิบัติฟุกุชิมะได้สำเร็จ
คันโนะได้เล่าให้พวกเราฟังถึงเหตุการณ์เมื่อเจ็ดปีก่อนที่พลิกชะตาชีวิตของเธอ ครอบครัวของเธอ และอีกหลายพันชีวิตในเมืองนี้
-
ไม่ง้อรัฐ! เชียงใหม่มี People AQI วัดคุณภาพอากาศภาคประชาชน
ทั้งเหนื่อยและทั้งเสียสุขภาพไปกับเรียกร้องเพื่อให้กรมควบคุมมลพิษและรัฐบาลแก้ไขปัญหาวิกฤตมลพิษทางอากาศ PM2.5 แต่ผ่านมาเป็นเวลากว่าสองปีก็ยังคงไร้การดำเนินการ โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหม่ที่ต้องเผชิญกับปัญหาหมอกควันพิษมาราวสิบปี แต่ในวันนี้เชียงใหม่รอไม่ไหวแล้ว และเลือกที่จะทำระบบแจ้งเตือนคุณภาพอากาศภาคประชาชน “People AQI” โดยไม่ง้อภาครัฐอีกต่อไป
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2561
เป็นระยะเวลา 2 ปีต่อเนื่องมาแล้ว ที่ข้อบ่งชี้สำคัญต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการขยายตัวของการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินนั้นลดลงอย่างฮวบฮาบในปี 2560 ไม่ว่าจะเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินที่อยู่ในระยะวางแผนก่อสร้าง เริ่มดำเนินการก่อสร้าง และเสร็จสิ้นการก่อสร้างแล้ว
-
รายงานฉบับใหม่ระบุการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกลดลงเป็นปีที่สองติดต่อกัน
ข้อมูลจากรายงานฉบับล่าสุดที่นำเสนอโดยกรีนพีซ เซียราคลับและโคลสวอร์ม ระบุว่า เป็นปีที่สองติดต่อกัน ที่จำนวนโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกที่อยู่ในระหว่างการพัฒนาลดจำนวนลงอย่างรวดเร็วในปี พ.ศ.2560 โดยที่จีนและอินเดียมีจำนวนลดลงมากที่สุด