-
ความยุติธรรมในการเผชิญกับภัยพิบัติทางภูมิอากาศอย่างรุนแรงในฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ต้องกลับไปเริ่มนับหนึ่งใหม่อีกครั้ง มันเป็นไปไม่ได้เลยที่จะอธิบายเรื่องราวการเผชิญกับซูเปอร์ไต้ฝุ่น พลังที่แท้จริงของธรรมชาติ หรือความวิตกกังวลตามสัญชาตญาณ รวมถึงความโศกเศร้าอันยาวนานนี้ให้ออกมาเป็นคำพูดได้
-
รายงานฉบับใหม่ระบุ สภาพภูมิอากาศสุดขั้วเป็นภัยคุกคามความมั่นคงทางอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของแอฟริกา
9 พฤศจิกายน 2563, โจฮันเนสเบิร์ก - รายงานจากกรีนพีซแอฟริการะบุ เหตุการณ์สภาพภูมิอากาศสุดขั้ว” หรือ Extreme Weather Event เช่น คลื่นความร้อน อุทกภัย และฝนตกหนัก เกิดขึ้นในแอฟริกาบ่อยครั้งในหลายพื้นที่ของแอฟริกา ซึ่งส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพประชาชน ความมั่นคงทางอาหาร สันติภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
-
7 เหตุผลที่ทำไมอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อุตสาหรรมเนื้อสัตว์ได้ทิ้งร่องรอยความเสียหายไว้มากมายทั่วโลก ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไฟป่า ไปจนถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชน ชีวิตของผู้คนนับล้านขึ้นอยู่กับการลดการบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมลงอย่างรวดเร็ว และไม่ใช่เพียงแค่เนื้อแดงเท่านั้นที่เป็นปัญหา
-
ตรวจสอบนโยบายรัฐบาลในฤดูฝุ่นพิษ PM2.5 ที่จะมาถึง
นับตั้งแต่แถลงการณ์ #พอกันทีขออากาศดีคืนมา ที่เป็นข้อเสนอยื่นต่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาในวันที่ 23 มกราคม 2563 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันซึ่งวิกฤตฝุ่น PM2.5 กำลังมาเยือนอีกครั้ง เรามาดูกันว่ามาตรการและนโยบายรัฐในเรื่องนี้ไปถึงไหนอย่างไร ต่อไปนี้คือการวิเคราะห์ของเรา
-
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้ปะการังในไต้หวันกำลังฟอกขาว?
ที่ผ่านมาไต้หวันเป็นเสมือนบ้านที่สุขสบายให้กับปะการังมากมายหลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งพบได้อย่างในที่อื่นๆ แต่ในปัจจุบัน สภาพภูมิอากาศที่ร้อนสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์กลับทำให้เหล่าปะการังต้องเผชิญกับปรากฏการณ์ "การฟอกขาว" ในระดับรุนแรง
-
จับตาร่างกฏหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ?
การร่างกฏหมายโลกร้อนที่กำลังเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจนถึงต้นเดือนตุลาคม 2563 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 กำหนดไว้ว่าภายในปี 2563 ประเทศไทยจะต้องมีร่างแรกของพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า กฏหมายโลกร้อน) รวมถึงการมีอนุบัญญัติต่างๆ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดเนื้อหาและความเข้มข้นของการบังคับใช้นั้นจะเพียงพอที่จะแก้ปัญหาโลกร้อนได้หรือไม่ หรือยังสงวนท่าทีที่เกรงใจต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นยังเป็นคำถามใหญ่
-
กู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนภัยพิบัติทางธรรมชาติจะทวีความรุนแรงสุดขั้วทั่วทุกภูมิภาค
หากเรายังคงนิ่งเฉยและปล่อยให้อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการไม่จำกัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง เราจะต้องพบเจอกับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงและบ่อยมากขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งการขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งอาจทำให้มนุษย์เราอาศัยอยู่บนโลกนี้ได้อย่างยากลำบากกว่าเดิม
-
กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครบรอบ 20 ปี ในปี 2020
ระยะเวลา 20 ปีถือเป็นก้าวสำคัญที่ควรค่าแก่การระลึกถึงอย่างแท้จริง และเป็นช่วงเวลาที่สมบูรณ์แบบในการกล่าวขอบคุณทุกๆ คน โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ผู้สนับสนุน ผู้บริจาคและพันธมิตรที่ทุ่มเท ที่ช่วยสร้างความหลากหลายในกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทำให้เราเติบโตดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
-
เรื่องที่เราควรรู้ จากเหตุการณ์ไฟป่าที่รัฐแคลิฟอร์เนีย
นี่เป็นอีกครั้งที่รัฐแคลิฟอร์เนียต้องรับมือกับไฟป่าครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แต่ถึงเช่นนั้น ก็ยังคงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจกับประเด็นต้นตอของการเกิดไฟป่าเท่าที่ควรทั้งที่ต้นเหตุต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งที่ผ่านมาอาจทำให้ไฟป่าในครั้งต่อไปหนักหนาสาหัสยิ่งยิ่งกว่าเดิม ไฟอาจลุกลามได้ไวยิ่งขึ้น และอาจเป็นภัยกับทั้งผู้คนและผืนป่าซึ่งถือว่าเป็นสมบัติอันล้ำค่าอย่างหนึ่งของชาติ บทความนี้เราจะพูดถึงเบื้องหลังของสาเหตุไฟป่าที่เกิดขึ้นในทุกวันนี้
-
เมื่อไม่มีมิติการเมือง การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้
ตลอดระยะเวลาที่ “วาระด้านสิ่งแวดล้อม” กลายเป็นกระแสหลัก การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมักจะถูกมองว่า เป็นเรื่องแยกขาดจากการเมืองอย่างสิ้นเชิง เสมือนว่าการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมนั้นอยู่นอกเหนือบริบทความขัดแย้ง และอาจมีสภานะภาพ ‘พิเศษ’ กว่าวาระอื่นๆ ในสังคม