-
‘แฟชั่นหมุนเวียน’ อาจแค่การฟอกเขียว แต่ Slow Fashion คือทางออกสู่อนาคต
ประชาชนในเคนยาและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้กำลังเผชิญปัญหาเสื้อผ้าไม่ใช้แล้ว และเสื้อผ้าปริมาณมหาศาลที่ไม่เป็นที่ต้องการในประเทศร่ำรวยทะลักเข้าสู่ประเทศตัวเอง ซึ่งปริมาณของมันมากเกินกว่าความต้องการของตลาดในท้องถิ่น
-
ใครคือผู้ได้รับผลประโยชน์จากอุตสาหกรรมอาหาร?
หลายปีที่ผ่านมา กลุ่มขับเคลื่อนที่ต่อสู้เพื่ออธิปไตยทางอาหาร พยายามกระจายอำนาจคืนสู่ผู้ผลิตอาหารรายย่อย แก้ไขความเสียหายที่เกิดจากการทำเกษตรกรรมเชิงอุตสาหกรรมที่ไม่ยั่งยืน เพื่อปกป้องชุมชน สิ่งแวดล้อม และสิทธิ์ในการเข้าถึงอาหารของพวกเราทุกคน
-
ภาวะกุมรัฐและอาการค่าไฟแพง
จุดสำคัญที่อาจชี้ว่าเกิดการยึดกุมกลไกกำกับดูแลแล้ว คือ เกิดการย้ายนโยบายออกจากประโยชน์สาธารณะ ไปยังกลุ่มผลประโยชน์ โดยการกระทำและเจตนาของกลุ่มผลประโยชน์นั้น
-
ฝุ่นพิษภาคเหนือ : เมื่อเกษตรกรคือแพะรับบาป แต่หลังม่านกลับพบทุนผูกขาดยักษ์ใหญ่?
เมื่อฤดูฝุ่นควันมาถึง สิ่งที่มักตามมาด้วยคือวาทกรรมเกษตรกรคือคนผิด ทั้งที่เป็นปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างนโยบายที่รัฐผลักดันให้เอื้อกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมเกษตรผูกขาดของกลุ่มทุนในประเทศ ว่าแต่กลุ่มทุนผูกขาดยักษ์ใหญ่เกี่ยวอะไรด้วย สรุปแล้วใครต้องรับผิดชอบต่อฝุ่นพิษที่เกิดขึ้น เกษตรกรในระบบเกษตรพันธสัญญา หน่วยงานภาครัฐหรือภาคธุรกิจที่ส่งเสริมให้เกิดการเกษตรแบบนี้ แล้วเราจะมาร่วมกันแก้ไขปัญหานี้ด้วยกันอย่างไร?
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และงานรณรงค์ด้านฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
ในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ตัวแทนประเทศจากบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะร่วมประชุมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) ที่สิงคโปร์ ในเรื่องฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
กรีนพีซถึงผู้นำอาเซียน: เร่งลงมือแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
7 มิถุนายน 2566, สิงคโปร์ — ผู้นำจากห้าประเทศในภูมิภาคอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) กำลังประชุมหารือในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ในประเด็นปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน และวางแผนข้อตกลงความร่วมมือระดับภูมิภาค
-
ค่ามาตรฐานฝุ่นใหม่มาแล้ว หน่วยงานรัฐมีมาตรการอะไรหรือยัง?
การยกระดับค่ามาตรฐานฝุ่นพิษ PM2.5 มาพร้อมความท้าทายว่ารัฐจะดำเนินโยบายอย่างจริงจังมากขึ้นเพื่อกำหนดให้ปริมาณการปล่อยฝุ่นพิษ PM2.5 ต้องต่ำกว่าค่ามาตรฐานตัวใหม่นี้อย่างไร
-
เราจะแยกการเรียกร้องเพื่อความเสมอภาคกับการตลาดอย่างไร ในยุคที่เต็มไปด้วย ‘การซักฟอก’
การขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิ์เช่นนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ยังมีความท้าทายที่รอพวกเราอยู่อีกมากมาย หนึ่งในนั้นคือกระแสการ ‘ซักฟอก’ หรือเทรนด์การ washing จากอุตสาหกรรมใหญ่ เราจะไม่ตกหลุมพรางการซักฟอกเหล่านี้ มาทำความรู้จัก ‘การซักฟอก’ โดยเฉพาะ การฟอกเขียว (Greenwashing) ที่เกิดขึ้นในองคาพยพการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ
-
แถลงการณ์กรีนพีซ ประเทศไทย กรณีนักวิชาการอิสระ สฤณี อาชวานันทกุล ถูกฟ้องร้องจากการนำเสนอข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงาน
การดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อระงับการมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Strategic Lawsuit Against Public Participation-SLAPP) ต่อประชาชน สื่อมวลชน และนักวิชาการอิสระผู้เปิดเผยข้อมูลและวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมถึงกลุ่มทุนเกี่ยวกับโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องสหประชาชาติหยุดกลุ่มอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อาจลดทอนการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ภาคประชาสังคมและนักวิทยาศาสตร์กว่า 150 กลุ่มทั่วทุกมุมโลก รวมถึงนักชาติพันธุ์วิทยา นักมานุษยวิทยาและดร.เจน กู๊ดดอลล์ ทูตสันติภาพของสหประชาชาติได้ร่วมลงนามในจดหมายเปิดผนึกถึงสหประชาชาติให้จับตามองอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลระหว่างการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อให้การเจรจาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพ