-
วารสารข่าว ฉบับปี 2564
“วิกฤตโรคระบาดไวรัสโคโรนา กับ วิกฤตสภาพภูมิอากาศ มีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่?” คุณเยบ ซาโน ผู้อํานวยการบริหารกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอบคําถามต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงโรคระบาดโควิด ดังนี้
-
องค์กรและคนตัวเล็ก ๆ ช่วยสร้างระบบอาหารที่ดีขึ้นได้อย่างไร
'สวนผักคนเมืองเชียงใหม่' พลังของคนตัวเล็ก ๆ ช่วยกันเปลี่ยนที่ทิ้งขยะกว่า 20 ปีเป็นส่วนผักอินทรีย์ สร้างระบบอาหารที่ดีให้ชุมชน
-
6 ข้อที่เราต้องลงมือทำเพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ!
ในปัจจุบันนี้ข้อมูลวิทยาศาสตร์ได้อธิบายไว้ทั้งหมดแล้วว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นจริง และตอนนี้ก็กำลังรุนแรงขึ้น ดังนั้น การลงมือทำเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศจึงเป็นสิ่งจำเป็น
-
ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยแบบจอมปลอม
เพื่อให้ระบบการทำฟาร์มมีความยืดหยุ่น เพื่อสุขภาพของมนุษย์ที่ดีขึ้น และเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สหภาพยุโรปไม่จำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิต แต่ควรผลิตอย่างแตกต่าง โดยผลิตเชิงในนิเวศท้องถิ่นให้มากขึ้น เพื่อผลผลิตที่ดีต่อสุขภาพ โดยให้ความสำคัญกับเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมน้อยลง รวมถึงการลดการผลิตพืชอาหารสัตว์ และลดการนำพืชที่คนสามารถกินได้มาผลิตเป็นเชื้อเพลิง
-
ป้อนอาหารให้ปัญหา : ความอันตรายที่เพิ่มขึ้นการทำฟาร์มปศุสัตว์ในยุโรป
อุตสาหกรรมการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมวัวที่มีมากเกินไปส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสุขภาพเรา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ชี้ให้เห็นความจำเป็นในการลดการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์ชัดเจนและเร่งด่วนกว่าครั้งใดในอดีต
-
หรือนี่คือยุคทองของ “การฟอกเขียว”
คำว่า “การฟอกเขียว” เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 - 2533 ซึ่งเป็นช่วงที่ภัยพิบัติทางธรรมชาติและวิกฤตสภาพภูมิอากาศเริ่มเข้ามาเป็นประเด็นถกเถียงกระแสหลัก
-
จริงหรือไม่ ที่เขาว่าปลาตัวเล็กมีแคลเซียมเยอะ
ร่วมไขคำตอบว่า ปลาเล็กปลาน้อยเหล่านี้มีแคลเซียมมากอย่างที่เราได้ยินกันมาจริงหรือไม่ ก่อนจะเข้าสู่บทสรุปที่ว่า เราผู้บริโภคจะเลือกกินอย่างไรให้ดีต่อทั้งสุขภาพเราเองและท้องทะเล
-
สรุปเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครจะปลดระวางก่อน’ #ปลดระวางถ่านหิน
สรุปจากเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครปลดระวางก่อนกัน?’ วงพูดคุยที่ชวนตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ คนทำงานด้านกฎหมาย นักวิจัยนโยบาย และกรีนพีซ มาร่วมกันพูดคุยถึงปัญหา การต่อสู้ ระหว่างกระบวนการการที่ออกแบบเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรมถ่านหิน
-
สรุปจากเสวนา ‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ ตอน อยุธยาเมืองท่าถ่านหิน
‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ เสวนาจาก Greenpeace Thailand ชวน ‘เริงชัย คงเมือง’ ช่างภาพสารคดี ‘อำนาจ อ่วมภักดี’ ตัวแทนกลุ่มรักบ้านเกิดและคณะกรรมการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด และจริยา เสนพงศ์ หัวหน้างานรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน กรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงปัญหาจากถ่านหินที่คนในพื้นที่ได้รับผลกระทบมาแล้วกว่า 20 ปี
-
เมล็ดพันธุ์ การล่าอาณานิคมยุคศตวรรษที่ 21 ผ่านทางความตกลงการค้าของบรรษัทเกษตร
ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีอำนาจในการต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่า หรือมีรัฐบาลที่แข็งกร้าวต่อประชาชนแต่อ่อนข้อให้กับประเทศมหาอำนาจ การจดสิทธิบัตรเมล็ดพันธุ์ภายในข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศจึงถูกมองโดยนักคิดนักเคลื่อนไหวว่าเป็นเสมือนล่าอาณานิคมในยุคศตวรรษที่ 21