-
ภาพถ่ายดาวเทียมเปิดเผยการกลับมาของมลพิษทางอากาศทั่วโลกหลังจากมาตรการล็อคดาวน์จากวิกฤตโควิด-19 รอบแรก
การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า ตราบเท่าที่ระบบพลังงานและการคมนาคมยังคงพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล มลพิษทางอากาศจะยังคงเป็นวิกฤตใหญ่ด้านสาธารณสุข ในช่วงครึ่งแรกของปี 2563 คุณภาพอากาศที่ดีขึ้นเป็นเพียงผลพลอยได้ชั่วคราวจากการล็อกดาวน์ในหลายพื้นที่ เราต้องหาทางออกที่ทำได้จริงในระยะยาวเพื่อช่วยให้เรามีอากาศสะอาดไว้หายใจ ไม่ว่าจะไปที่ไหนในเมืองก็ตาม
-
ไมโครพลาสติกจำนวนมหาศาลปกคลุมชายฝั่งทะเลตะวันตกของศรีลังกา
ไมโครพลาสติกจำนวนมหาศาลที่ใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งปกคลุมชายฝั่งทะเลตะวันตกของศรีลังกา
-
กระเทาะเปลือก #CPTPP : วิเคราะห์ข้อบทด้านสิ่งแวดล้อมของความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
แม้รัฐบาลมีบทบาทในการกำกับดูแลการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติของภาคเอกชนในระดับประเทศ แต่ที่ผ่านมา กฎหมายระหว่างประเทศก็มีอิทธิพลต่อการดำรงไว้ซึ่งแนวทางเสรีนิยมใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์เพื่อครอบครองและแสวงประโยขน์จากทรัพยากร
-
World Oceans Day เกิดอะไรขึ้นบ้างกับทะเลไทยและทะเลโลก
ในช่วงปีที่ผ่านมาเริ่มมีสัญญาณใหม่ๆที่บ่งบอกว่ามหาสมุทรอยู่ในภาวะน่าเป็นห่วง ทั้งในทะเลไทยและทะเลโลก ซึ่งนอกจากจะกระทบกับระบบนิเวศในทะเลแล้ว ยังต่อเนื่องมาถึงชุมชนชายฝั่ง เศรษฐกิจ และความมั่นคงทางอาหารของมนุษย์ด้วย
-
วันสิ่งแวดล้อมโลก กับการพัฒนาเมืองที่ทำให้คนเมืองอยากออกมาเดินออกมาปั่น
วันนี้ที่เป็นวันสิ่งแวดล้อมโลกและยังเป็นเดือนที่มีวันจักรยานด้วยพอดี เราเลยอยากพูดถึงทางเท้าและทางจักรยาน รวมถึงระบบขนส่งสาธารณะที่เราต้องการ #ShareTheCity
-
นโยบายเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานหมุนเวียน จะกระตุ้นระบบเศรษฐกิจและการจ้างงาน
จากการขยับที่น่าจับตามองของวิทยาลัยสายอาชีพ เราจึงชวนรองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาเล่าให้เราฟังถึงวิสัยทัศน์ของการศึกษา พลังงานหมุนเวียนที่สะอาด การสร้างอาชีพแห่งอนาคต และที่สำคัญคือการขับเคลื่อนในเชิงนโยบายของอาชีวศึกษา
-
ศาลเนเธอร์แลนด์ตัดสินคดีโลกร้อนครั้งประวัติศาสตร์ สั่งให้เชลล์ลดการปล่อยคาร์บอน 45% ในฐานะตัวการก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
กรุงเฮก, 26 พฤษภาคม 2564 - ในคำตัดสินครั้งประวัติศาสตร์ในวันนี้ ศาลเนเธอร์แลนด์ตัดสินว่าเชลล์ต้องรับผิดชอบในฐานะเป็นตัวการก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ นับเป็นครั้งแรกที่บริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิลรายใหญ่ต้องรับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมในวิกฤตสภาพภูมิอากาศ และได้รับคำสั่งให้ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-
เหมืองทะเลลึก : อุตสาหกรรมที่แขวนชีวิตสัตว์ทะเลไว้บนเส้นด้าย
ใต้ทะเลลึกยังหลงเหลือสิ่งมหัศจรรย์ให้มนุษย์ศึกษาและเรียนรู้อีกมาก ทั้งระบบนิเวศขนาดมหึมา เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิดที่เรายังไม่ทันได้รู้จัก แต่การส่งเครื่องจักรขนาดใหญ่ลงไปไม่เพียงกระทบต่อสัตว์เหล่านี้ เพราะนั่นรวมไปถึงระบบกักเก็บคาร์บอนของโลก และอาจทำให้วิกฤตสิ่งแวดล้อมที่เรากำลังเผชิญอยู่แย่ลงไปอีก
-
โรงงานเซรามิกพลังงานแสงอาทิตย์ จากคนที่เชื่อในการขยับปีกของผีเสื้อ
เราเดินทางมาเยี่ยมชมโรงงาน จี เจ เซรามิก ซึ่งเป็นโรงงานเซรามิกไม่กี่แห่งในจังหวัดลำปางที่ริเริ่มใช้พลังงานหมุนเวียนจากการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปมาใช้ในธุรกิจเป็นเวลาเกือบ 5 ปีแล้ว ในโอกาสนี้เรายังได้ร่วมพูดคุยกับคุณณกานต์ จันธิราชนารา ที่หลายคนอาจรู้จักเขาในชื่อ “ดินแดนไทย”
-
หรือโลกกำลังเผชิญการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่อีกครั้ง เมื่อสัตว์ทะเลอพยพออกจากเส้นศูนย์สูตร
ปัจจุบัน มีงานวิจัยที่ระบุว่ามหาสมุทรบริเวณรอบ ๆ เส้นศูนย์สูตรเริ่ม ‘ร้อน’ เกินไปสำหรับสัตว์ทะเลหลายชนิด พวกมันจะไม่รอดหากอาศัยอยู่ในน้ำทะเลที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป ซึ่งตัวการสำคัญของเหตุการณ์นี้คือ ‘ภาวะโลกร้อน’