-
จัดการปัญหาขยะก่อนลงถังด้วยหลัก 7R ทางเลือกเพื่อหลีกเลี่ยงมลพิษพลาสติกหลังวิกฤตโควิด-19
เราได้เห็นปริมาณขยะจากการบริโภคของมนุษย์ที่เพิ่มขึ้นมากในช่วงโรคระบาด แล้วเราในฐานะผู้บริโภคทำอะไรได้บ้างเพื่อช่วยลดขยะพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
-
#BetterNormal ร่วมสร้างอนาคตที่ปลอดมลพิษพลาสติกหลังจากวิกฤตโควิด-19 ดีขึ้น
‘New Normal’ นี้อาจก่อให้เกิดขยะพลาสติกใช้แล้วทิ้งในปริมาณมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม นี่คือพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งต้องการความตระหนักรู้และการควบคุมพฤติกรรมของเราเช่นเดียวกัน เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ new normal ที่ว่านี้ทำลายโลกที่เราอาศัยอยู่ เราจะต้องตระหนักว่าสุขภาพของโลก = สุขภาพของเรา
-
เหมืองถ่านหินและอนาคตแม่ทะหลัง Covid-19
ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 ยังมีการเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะต่อไปอย่างเงียบๆ
-
โลกของโรค ตอนที่ 1 โรคระบาดกับระบบนิเวศ
ข้อมูลมากมายจากนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ระบุชัดว่า โรคระบาดครั้งใหญ่ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ได้จู่ ๆ ก็เกิดขึ้นตามช่วงเวลา แต่เป็นผลจากการกระทำและกิจกรรมของมนุษย์ต่อระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อม หากเราไม่เริ่มทำความเข้าใจระบบนิเวศ และหันมาดูแลสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตั้งแต่วันนี้ อาจส่งผลให้เกิดโรคอุบัติซ้ำและอุบัติใหม่
-
การค้าขยะพลาสติกซ้ำเติมวิกฤตสิ่งแวดล้อมในมาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย, 27 พฤษภาคม 2563 - รายงาน “มายาคติของการรีไซเคิล -The Recycling Myth 2.0 ซึ่งจัดทำโดยกรีนพีซ มาเลเซียเปิดเผยข้อค้นพบสารเคมีที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
-
ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
รายงานวิเคราะห์ชิ้นล่าสุด “ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน” เผยถึงบทบาทของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่เชื่อมโยงกับการก่อหมอกควันพิษข้ามพรมแดนโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมระหว่างปี 2558-2562 พบว่า มีพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในอนุภาคภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอยู่โดยเฉลี่ย 1 ใน 3 ของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่เกิดขึ้นทั้งหมด
-
กรีนพีซเผยความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ พื้นที่ปลูกข้าวโพด และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
กรีนพีซ ประเทศไทย เผยรายงานวิเคราะห์ล่าสุด “ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน” ที่เผยถึงบทบาทของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่เชื่อมโยงกับการก่อหมอกควันพิษข้ามพรมแดนโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมระหว่างปี 2558-2562 พบว่า มีพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในอนุภาคภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอยู่โดยเฉลี่ย 1 ใน 3 ของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่เกิดขึ้นทั้งหมด
-
แม้ฝุ่น PM 2.5 ในหลายเมืองทั่วโลกลดลงในช่วง Lockdown แต่วิกฤตมลพิษทางอากาศอาจกลับมาหลังช่วง Covid -19
รายงานวิจัยโดย IQAir ได้เปรียบเทียบการวัดมลพิษทางอากาศในหลายประเทศที่มีคุณภาพอากาศเป็นพิษมากที่สุดในโลก ในช่วงสถานการณ์ COVID-19
-
แนวคิดธุรกิจ อาหารเดลิเวอรี่ ที่ยังคงใช้ภาชนะใช้ซ้ำแม้ในช่วงวิกฤตโควิด ของ “เคี้ยวเขียว”
ท่ามกลางความคึกคักของธุรกิจบริการจัดส่งอาหาร เรากลับได้เห็น “เคี้ยวเขียว” ธุรกิจจัดเลี้ยงซึ่งเดิมทีก่อนเกิดภาวะโรคระบาดก็ไม่ใช้ภาชนะพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งอยู่แล้ว เกิดไอเดียโมเดลธุรกิจบริการจัดส่งอาหารโดยใช้ภาชนะใช้ซ้ำ ภายใต้ชื่อ “Stay Green by Keawkeaw” พร้อมสโลแกน “เข้าถึงอาหารที่ดี โดยไม่มีขยะ”
-
จะสูญสิ้นหรือฟื้นคืน : ความหลากหลายทางชีวภาพหลังวิกฤต Covid-19
เมื่อโลกทั้งโลกสั่นสะเทือนจากโรคระบาดขนาดใหญ่ที่ส่งผลกระทบกับคนนับล้านอย่าง Covid-19 เราทุกคนต่างกังวลกับสุขภาพของตนเอง คนที่เรารัก รวมถึงคนที่เปราะบางที่สุดในสังคม ในเพียงเวลาไม่กี่สัปดาห์ Covid-19 กลายเป็นวาระเร่งด่วนมากที่สุด มากกว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศหรือภัยคุกคามจากการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ หายนะภัยที่ครอบงำความสนใจของคนทั้งโลกก่อนหน้านี้ เช่น ไฟป่ามหากาฬในออสเตรเลีย หรือของสังคมไทยกรณีไฟป่าอนุรักษ์ เป็นต้น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่จริงจังน้อยกว่าการระบาดของ Covid-19 ที่เรามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย