All articles
-
แหล่งอาหารในอมก๋อยอาจได้รับผลกระทบจากถ่านหิน
มะเขือเทศและฟักทองถือเป็นพืชเศรษฐกิจของชาวกะเหรี่ยงในหมู่บ้านกะเบอะดิน หัวใจของการปลูกพืชผักเหล่านี้ก็คือ “น้ำสะอาด” แต่แหล่งน้ำที่จำเป็นนั้นอาจได้รับผลกระทบหากมีโครงการเหมืองถ่านหินเกิดขึ้น
-
7 ข้อต้องรู้ในการติดตั้ง “Solar Rooftop”
รวบรวม 7 ขั้นตอนต้องรู้ในการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป เพื่อให้ทุกคนที่อยากติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เข้าใจขั้นตอนก่อนการติดตั้งแผงให้มากขึ้น
-
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้ปะการังในไต้หวันกำลังฟอกขาว?
ที่ผ่านมาไต้หวันเป็นเสมือนบ้านที่สุขสบายให้กับปะการังมากมายหลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งพบได้อย่างในที่อื่นๆ แต่ในปัจจุบัน สภาพภูมิอากาศที่ร้อนสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์กลับทำให้เหล่าปะการังต้องเผชิญกับปรากฏการณ์ "การฟอกขาว" ในระดับรุนแรง
-
ขยะอาหาร : ปัญหาที่ถูกซ่อนในระบบอุตสาหกรรมอาหาร
ในปี 2562 ขณะที่หลายๆคนรู้สึกเสียดายที่ต้องทิ้งอาหารที่กินไม่หมด ยังมีผู้คนอีกกว่า 690 ล้านคนที่ขาคแคลนอาหาร
-
รู้จัก ‘ไครียะห์’ : เมื่อลูกสาวแห่งทะเลพูดความจริงต่ออำนาจ
ยะห์ - ไครียะห์ ระหมันยะ ลูกชาวประมงจากหมู่บ้านเล็ก ๆ จาก อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ผู้เคลื่อนไหวให้รัฐบาลยกเลิกมติ ครม. ที่จะสร้างนิคมอุตสาหกรรมจะนะ ในชื่อโครงการ "จะนะ เมืองต้นแบบอุตสาหกรรมก้าวหน้าแห่งอนาคต”
-
คุยกับธารา บัวคำศรี : สันติวิธีและ 20 ปีของงานรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ ประเทศไทย
ก่อนที่จะอ่านบทสัมภาษณ์นี้ เราอยากให้คุณลองถามตัวเองเล่นๆ ว่า สำหรับคุณ ‘สันติวิธี’ คืออะไร? ไม่ต้องบอกให้เรารู้หรอก แค่เก็บคำตอบที่คุณมีไว้ในใจก็พอ
-
เปิดที่มาของการตายของลูกเรือประมงอินโดนีเซีย เกิดอะไรขึ้นกลางทะเล
คลิปวิดีโอฉายภาพโคลงเคลงขี้นลงไปมา แต่ก็ชัดเจนพอที่จะเป็นประจักษ์พยานให้รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น ณ กลางทะเลที่ห่างไกล ภาพกล่องขนาดยาวพอดีคนนอนคลุมด้วยผ้าสีส้มสด กลางดาดฟ้าเรือขนาดใหญ่ ผู้ทยอยถือธูปมาบอกลาเจ้าของร่างที่นอนสงบอยู่ด้านใน ก่อนจะถูกปล่อยให้จมหายไปในความมืดมิดของมหาสมุทร
-
จับตาร่างกฏหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ?
การร่างกฏหมายโลกร้อนที่กำลังเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจนถึงต้นเดือนตุลาคม 2563 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 กำหนดไว้ว่าภายในปี 2563 ประเทศไทยจะต้องมีร่างแรกของพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า กฏหมายโลกร้อน) รวมถึงการมีอนุบัญญัติต่างๆ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดเนื้อหาและความเข้มข้นของการบังคับใช้นั้นจะเพียงพอที่จะแก้ปัญหาโลกร้อนได้หรือไม่ หรือยังสงวนท่าทีที่เกรงใจต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นยังเป็นคำถามใหญ่
-
กู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนภัยพิบัติทางธรรมชาติจะทวีความรุนแรงสุดขั้วทั่วทุกภูมิภาค
หากเรายังคงนิ่งเฉยและปล่อยให้อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการไม่จำกัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง เราจะต้องพบเจอกับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงและบ่อยมากขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งการขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งอาจทำให้มนุษย์เราอาศัยอยู่บนโลกนี้ได้อย่างยากลำบากกว่าเดิม
-
เมื่อพลาสติกย้อนกลับมาในห่วงโซ่อาหารและซ่อนอยู่ในวัตถุดิบที่เรากิน
รู้หรือไม่ว่าปัจจุบัน วัตถุดิบที่เราใช้ทำอาหารนั้นมีไมโครพลาสติกปนเปื้อนอยู่ งานวิจัยล่าสุดที่ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของร่างกายจากมลพิษพลาสติกแสดงให้เห็นแล้วว่าวัตถุดิบหลายประเภทที่เรากินมีปริมาณไมโครพลาสติกปนเปื้อน จากขยะที่เราทิ้งในตอนนี้พวกมันกลายเป็นส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อาหารของพวกเราแล้ว