All articles
-
หน้ากากอนามัย 5,500 ตันไปจบลงที่ไหน
กว่าหกเดือนแล้วที่ COVID-19 ได้สร้างหายนะให้กับโลก และหน้ากากอนามัยก็ได้กลายมาเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดครั้งประวัติกาลนี้ อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของการใช้หน้ากากอนามัยชนิดใช้แล้วทิ้งก็ได้สร้างผลกระทบที่ไม่มีใครต้องการต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน
-
งบประมาณซื้อเรือดำน้ำ 2 ลำ ติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปให้บ้านเรือนที่มีรายได้น้อย โรงเรียนและโรงพยาบาลของรัฐได้เท่าไร?
หากเราใช้งบประมาณซื้อเรือดำน้ำมาลงทุนติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อป สังคมไทยจะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง
-
ปกป้องผู้คนและสิ่งแวดล้อมด้วยการหันมาใช้หน้ากากใช้ซ้ำ
การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่มากขึ้น เช่น หน้ากากอนามัย นั้นหมายความว่า พวกเรากำลังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างขยะที่ส่วนใหญ่ทำมาจากพลาสติกให้เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล
-
คลิปเสียงลับยืนยันว่าพรรคการเมืองในนิวซีแลนด์ขัดขวางการปกป้องมหาสมุทร
การกำหนด “เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล(Ocean Sanctuaries)” เพื่ออนุรักษ์และปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นเรื่องเร่งด่วนที่เราต้องช่วยกันผลักดัน อย่างไรก็ดี ยังมีคนบางกลุ่มที่เห็นว่าผลประโยชน์นั้นสำคัญมากกว่าสิ่งแวดล้อม
-
ทำไม “การปฏิวัติบนหลังคาโรงเรียนและมหาวิทยาลัยด้วยโซลาร์เซลล์” ถึงสำคัญ? ข้อสรุปจากเสวนา คุยกันใต้หลังคาโซลาร์เซลล์ ช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจหลัง Covid-19 (ตอนที่ 2)
ที่ผ่านมาเรามักนึกถึงการติดตั้งโซลาร์แค่บนหลังคาบ้านเรือน แต่จริง ๆ แล้วสถาบันการศึกษามองเห็นโอกาสนี้มานานแล้ว และวางเป้าหมายกันว่าจะมีการสร้างอาชีพจากการปฏิวัติบนหลังคาโรงเรียนและมหาวิทยาลัย แล้วทำไมโรงเรียนหรือสถานศึกษาทำไมจึงควรติดตั้งโซลาร์เซลล์ มันมีข้อดีอย่างไร?
-
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริง ๆ หรือไม่?
เพราะโรคระบาด COVID-19 ทำให้เราเห็นความเชื่อมโยงว่าเรากับธรรมชาติจำเป็นจะต้องพึ่งพากันมากแค่ไหน และแสดงให้เห็นว่าระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโลกปัจจุบันนี้ถูกขับเคลื่อนด้วยวิถีชีวิตที่วุ่นวาย การบริโภคที่ล้นเกินและการผลักภาระให้กับธรรมชาติ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืน
-
เพชร มโนปวิตร: อ่านสัญญาณเตือนจากมหาสมุทร ความเป็นความตายที่ถูกมองว่าไกลตัว
“เรากำลังอยู่ในยุคที่ชดใช้กรรม” กรรมจากการพัฒนาที่ทำลายธรรมชาติมากเกินไป มหาสมุทรกำลังส่งสัญญาณว่า มันรับผลจากกิจกรรมของมนุษย์ไม่ไหวแล้ว ถ้าวันนี้ไม่ทำอะไร วิกฤตสภาพภูมิอากาศอาจร้ายแรงจนทำลายแหล่งผลิตอาหาร แหล่งที่อยู่อาศัย เกิดสงครามแย่งชิงทรัพยากร เกิดการอพยพครั้งใหญ่เพื่อความอยู่รอด และเราได้เห็นจากวิกฤตโควิด-19 แล้วว่าเวลาเกิดวิกฤตแบบนี้คนจนตายก่อนและจะเจ็บปวดที่สุด
-
“เพราะความทรงจำเกี่ยวกับระเบิดปรมาณูกำลังเลือนราง ผมจึงต้องส่งผ่านความทรงจำเหล่านั้นสู่คนรุ่นต่อไป” ฮาราดะ ฮิโรชิ ชายผู้รอดชีวิตจากโศกนาฏกรรมระเบิดนิวเคลียร์ฮิโรชิมา
ร่างของผู้คนต่างกระจัดกระจายไปทั่วพื้นดิน หลายร่างทอดกายเกยทับกันและกัน มากมายเสียจนผมไม่อาจบอกได้ว่ามีจำนวนเท่าไร บางคนอาจจะยังมีลมหายใจอยู่ เสียงครวญครางลอดมาให้ผมได้ยิน มันคือเสียงร้องครั้งสุดท้ายก่อนที่พวกเขาจะสิ้นลมหายใจหรือเปล่าผมก็ไม่อาจจะทราบได้แน่ชัด
-
ทำไม “การปฏิวัติบนหลังคาบ้านด้วยโซลาร์เซลล์” ถึงสำคัญ? ข้อสรุปจากเสวนา คุยกันใต้หลังคาโซลาร์เซลล์ ช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจหลัง Covid-19 (ตอนที่ 1)
ในบทความนี้เราจะพูดถึงข้อเสนอการปฏิวัติบนหลังคาบ้านเรือน 1 ล้านหลังคาเรือนภายใน 3 ปี (ปี 2564-2566) กับ ดร.เดชรัต สุขกำเนิด นักวิชาการเศรษฐศาสตร์และพลังงาน ถึงความเป็นไปได้ของข้อเสนอ
-
ฮาวทู Supermarket ไร้พลาสติก
ไอเดียการใช้สิ่งอื่นแทนบรรจุภัณฑ์พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง ที่ซูเปอร์มาร์เก็ตทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ