All articles
-
เสียงของผู้หญิงที่ท้าทายระบบเก่าเพื่อสร้างระเบียบโลกใหม่
“ทุกสิ่งทุกอย่างเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน” เรามักได้ยินคำนี้กันอยู่บ่อยๆ แต่แท้จริงแล้วมันหมายถึงอะไรกันแน่ ?
-
กว่าสองทศวรรษของการรณรงค์ เรือเอสเพอรันซาให้ความหวังว่าเราจะมีสิ่งแวดล้อมที่ดีในอนาคต
เรือเอสเพอรันซาเดินทางไปในหลายน่านน้ำเพื่อเปิดโปงอาชญากรรมด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นการล่าวาฬ อุตสาหกรรมประมงทำลายล้าง การขนส่งน้ำมันปาล์มดิบที่มาจากการทำลายผืนป่าฝนเขตร้อน และรณรงค์เปลี่ยนผ่านการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลสู่พลังงานหมุนเวียนที่สะอาด ในปีนี้ (พ.ศ.2565) เรือเอสเพอรันซาเดินทางไปถึงจุดหมายสุดท้ายในเมืองชายฝั่ง กิฆอน (Gijón) ประเทศสเปน และปลดระวางจากหน้าที่ของตัวเอง
-
เรายังมีโอกาสปกป้อง เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ จากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ หากลงมือลดโลกร้อนตอนนี้
กรีนพีซ ออสเตรเลีย แปซิฟิกเผย จากรายงานฉบับล่าสุดของ IPCC ที่เตือนว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็นตัวเร่งทำให้ปะการังใน เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ ปรับตัวกับภาวะที่เกิดขึ้นไม่ทัน รวมทั้งน้ำทะเลที่อุ่นขึ้นยังทำให้ปะการังเหล่านี้แทบไม่มีโอกาสรอดชีวิตเลย รัฐบาลออสเตรเลียจะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้มากขึ้นและเร็วกว่าเดิมจากที่เคยวางแผนไว้
-
ธารน้ำแข็งในทะเลแอนตาร์กติกก่อตัวอยู่ในระดับต่ำกว่าที่เคยมีการบันทึก
ธารน้ำแข็งในทะเลแอนตาร์กติกจะอยู่ในระดับต่ำที่สุด โดยการบันทึกข้อมูลดังกล่าวทำให้เห็นว่าธารน้ำแข็งรอบ ๆ ทวีปกำลังอยู่ในระดับต่ำที่สุดเป็นประวัติการณ์ จากเดือนมีนาคมปี 2560 ซึ่งเคยมีธารน้ำแข็งกว่า 2.1 ล้านตารางกิโลเมตร แต่ปัจจุบัน ข้อมูลเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พื้นที่ธารน้ำแข็งลดลงเหลือ 1.98 ล้านตารางกิโลเมตรเท่านั้น
-
“ทะเลก็มีชีวิต” : เสียงของชาวประมงฟุกุชิมะที่รัฐบาลญี่ปุ่นไม่เคยได้ยิน
10 ปีหลังอุบัติภัยโรงงานนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ รัฐบาลญี่ปุ่นมีมติอนุมัติให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์สามารถปล่อยน้ำเสียที่เปื้อนกัมมันตรังสีลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิกได้ โดยไม่ฟังเสียงชาวประมงท้องถิ่น
-
เมื่อผึ้งหาย = วายวอด และทำไมอียูถึงแบนสารเคมีที่อันตรายต่อผึ้ง
ผึ้งไม่ได้ให้แต่น้ำผึ้งเท่านั้น แต่ยังให้ ‘อาหาร’ ผึ้งเป็นผู้ผสมเกสรพืชจำนวนมาก แต่ในตอนนี้ผึ้งกำลังตกอยู่ในอันตรายจากการผลิตอาหารของเรา เช่นเดียวกับพืชพันธุ์ธรรมชาติอื่นๆ
-
World Wetlands Day เมื่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศคุกคามพื้นที่ชุ่มน้ำทั่วโลก
แม้ว่าจะมีบทบาทสำคัญต่อการรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่พื้นที่ชุ่มน้ำกลับถูกคุกคามและถูกทำลายไปอย่างรวดเร็วกว่าพื้นที่ป่าถึง 3 เท่า
-
โรคระบาดจากชั้นดินเยือกแข็ง – น้ำแข็งละลายในอาร์กติก ทำให้เกิดโรคระบาดร้ายแรงได้จริงหรือ?
ในเดือนพฤศจิกายน 2562 กลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลกมารวมตัวที่เมืองฮันโนเฟอร์ เยอรมนี เพื่อร่วมลงพื้นที่วิจัย นักวิทยาศาสตร์ที่มาร่วมการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาภูมิอากาศวิทยา ธรณีวิทยา และไวรัสวิทยา โดยร่วมกันแชร์ประสบการณ์ด้านวิชาชีพเป็นครั้งแรก และยังพูดถึงภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นหากจุลินทรีย์ถูกปลดปล่อยออกมาจากชั้นดินเยือกแข็ง
-
#น้ำมันรั่วChevronSPRC หายนะทะเลไทย และคำถามสำคัญต่อภาระรับผิดของอุตสาหกรรมฟอสซิล
น้ำมันรั่วจะเกิดขึ้นหรือไม่ ต้องถามว่ามันจะเกิดขึ้นเมื่อไร” การรั่วไหลของน้ำมันเป็นผลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงของยุคเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นอันตราย และข้อมูลการรั่วไหลของน้ำมันมักจะไม่สมบูรณ์
-
เนื้อเทียม ≠ ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเสมอไป
แน่นอนว่าการผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์ในระบบอาหารแบบอุตสาหกรรมนั้นส่งผลเสียต่อระบบนิเวศ คุณภาพชีวิตของสัตว์ รวมถึงผู้บริโภคและเกษตรกรอย่างใหญ่หลวง แล้วเนื้อสัตว์ทางเลือกอย่างเนื้อสัตว์จากพืช หรือ “เนื้อเทียม” ล่ะ ในแง่ของสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร