All articles
-
‘การฟอกเขียว’ กำลังทำให้เราพบกับหายนะด้านสภาพภูมิอากาศ แต่เรายังมีทางหยุดหายนะครั้งนี้ได้
เรื่องราวจาก เอ็มม่า ทอมป์สัน (Emma Thompson) นักแสดงชื่อดังชาวอังกฤษ กับการณรงค์เรียกร้องยุติ การฟอกเขียว (Greenwashing)
-
10 สถานการณ์โลกด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การปกป้องธรรมชาติ และสิทธิชนพื้นเมือง
เพราะความหลากหลายทางชีวภาพนั้นเกี่ยวโยงกับเราและความเป็นธรรมทางสังคม นี่คือ 10 สถานการณ์ที่เกิดขึ้นและเชื่อมโยงถึงความหลากหลายทางชีวภาพบนโลก
-
คุยกับโชซอนฮี ช่างภาพชื่อดังของเกาหลีใต้ กับโปรเจค #CitizenClimate ให้ภาพถ่ายเล่าเรื่อง ‘วิกฤตสภาพภูมิอากาศ’
โปรเจคที่โชซอนฮีทำล่าสุดคือการถ่ายภาพศิลปินคนดังให้กับนิตยสาร W ร่วมกับกรีนพีซ เกาหลี เพื่อดึงดูดให้คนหันมาสนใจประเด็นสิ่งแวดล้อมและร่วมลงมือแก้ไขปัญหามากขึ้น
-
พลาสติก ความรับผิดชอบของผู้ผลิต และวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ราคาของวิกฤตความสะดวกสบาย
เราไม่สามารถผ่านพ้นวิกฤตมลพิษพลาสติกที่เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เลย หากยังคงเน้นเพียงการสร้างจิตสำนึก หรือมุ่งไปที่การทำให้ผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมเพียงอย่างอย่างเดียวเท่านั้น
-
ภาวะโลกร้อนคืออะไร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วิกฤตสภาพภูมิอากาศ แตกต่างกันอย่างไร?
เรารู้กันอยู่แล้วแหละว่ามันก็เป็นหนึ่งในคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน แต่มันต่างกันยังไงล่ะ ?
-
เรายังมีโอกาสปกป้อง เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ จากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ หากลงมือลดโลกร้อนตอนนี้
กรีนพีซ ออสเตรเลีย แปซิฟิกเผย จากรายงานฉบับล่าสุดของ IPCC ที่เตือนว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็นตัวเร่งทำให้ปะการังใน เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ ปรับตัวกับภาวะที่เกิดขึ้นไม่ทัน รวมทั้งน้ำทะเลที่อุ่นขึ้นยังทำให้ปะการังเหล่านี้แทบไม่มีโอกาสรอดชีวิตเลย รัฐบาลออสเตรเลียจะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้มากขึ้นและเร็วกว่าเดิมจากที่เคยวางแผนไว้
-
ธารน้ำแข็งในทะเลแอนตาร์กติกก่อตัวอยู่ในระดับต่ำกว่าที่เคยมีการบันทึก
ธารน้ำแข็งในทะเลแอนตาร์กติกจะอยู่ในระดับต่ำที่สุด โดยการบันทึกข้อมูลดังกล่าวทำให้เห็นว่าธารน้ำแข็งรอบ ๆ ทวีปกำลังอยู่ในระดับต่ำที่สุดเป็นประวัติการณ์ จากเดือนมีนาคมปี 2560 ซึ่งเคยมีธารน้ำแข็งกว่า 2.1 ล้านตารางกิโลเมตร แต่ปัจจุบัน ข้อมูลเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พื้นที่ธารน้ำแข็งลดลงเหลือ 1.98 ล้านตารางกิโลเมตรเท่านั้น
-
รายงานใหม่ของ IPCC ระบุ เราไม่พร้อมรับมือวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ในการประเมินผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างรอบด้าน คณะทำงานที่ 2 ภายใต้คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ได้นำเสนอผลการประเมินทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดต่อรัฐบาลต่าง ๆ ทั่วโลกในวันนี้
-
โรคระบาดจากชั้นดินเยือกแข็ง – น้ำแข็งละลายในอาร์กติก ทำให้เกิดโรคระบาดร้ายแรงได้จริงหรือ?
ในเดือนพฤศจิกายน 2562 กลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลกมารวมตัวที่เมืองฮันโนเฟอร์ เยอรมนี เพื่อร่วมลงพื้นที่วิจัย นักวิทยาศาสตร์ที่มาร่วมการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาภูมิอากาศวิทยา ธรณีวิทยา และไวรัสวิทยา โดยร่วมกันแชร์ประสบการณ์ด้านวิชาชีพเป็นครั้งแรก และยังพูดถึงภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นหากจุลินทรีย์ถูกปลดปล่อยออกมาจากชั้นดินเยือกแข็ง
-
2564 : ปีที่เกิดสภาพอากาศสุดขั้วจนทำลายสถิติ
ภาวะโลกร้อนและอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่เพิ่มขึ้นนั้นไม่มีพรมแดน ในปี 2564 เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว (Extreme Weather events) เกิดขึ้นทั่วโลกแทบจะทุกเดือนของปี เรารวบรวมภาพถ่ายผลกระทบหลังจากเกิดสภาพอากาศรุนแรงสุดขั้วมาบางส่วนเพื่อเป็นหลักฐานถึงผลกระทบต่อผู้คนที่ต้องเผชิญกับเหตุการณ์เหล่านี้