All articles
-
รีวิวมุมมองจาก 4 นักกิจกรรมจากทั่วโลก: การเมือง สังคม เศรษฐกิจล้วนเชื่อมโยงกับปัญหาสิ่งแวดล้อม
เปิดมุมมองการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมในปี 3564 จากทั่วโลก กับนักกิจกรรมทั้ง 4
-
โจ ไบเดน นำสหรัฐอเมริกากลับเข้าร่วมความตกลงปารีสและยกเลิกใบอนุญาตโครงการท่อส่งน้ำมัน Keystone XL
สำหรับกลุ่มคนที่เป็นด่านหน้าในการต่อกรกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศและการระบาดของโควิด19 นั้นไม่ใช่เพียงการแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้นในช่วงรัฐบาลของอดีตประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ หรือการฟื้นฟูให้กลับมาดีขึ้นกว่าเดิม แต่ยังหมายถึงการปลดแอกสังคมเชื้อเพลิงฟอสซิลด้วย
-
จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีจะมุ่งไปสู่ “ความเป็นกลางทางคาร์บอน(Carbon Nuetral) ให้ได้ 100% อย่างที่ให้สัญญาไว้หรือไม่
จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีรวมกันปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คิดเป็น 1 ใน 3 ของการปล่อยทั่วโลกในปี 2561 ดังนั้น ถือเป็นข่าวดีเมื่อทั้งสามประเทศให้คำมั่นสัญญาว่า จะลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็นศูนย์
-
ความยุติธรรมในการเผชิญกับภัยพิบัติทางภูมิอากาศอย่างรุนแรงในฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ต้องกลับไปเริ่มนับหนึ่งใหม่อีกครั้ง มันเป็นไปไม่ได้เลยที่จะอธิบายเรื่องราวการเผชิญกับซูเปอร์ไต้ฝุ่น พลังที่แท้จริงของธรรมชาติ หรือความวิตกกังวลตามสัญชาตญาณ รวมถึงความโศกเศร้าอันยาวนานนี้ให้ออกมาเป็นคำพูดได้
-
จับตาร่างกฏหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ?
การร่างกฏหมายโลกร้อนที่กำลังเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจนถึงต้นเดือนตุลาคม 2563 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 กำหนดไว้ว่าภายในปี 2563 ประเทศไทยจะต้องมีร่างแรกของพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า กฏหมายโลกร้อน) รวมถึงการมีอนุบัญญัติต่างๆ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดเนื้อหาและความเข้มข้นของการบังคับใช้นั้นจะเพียงพอที่จะแก้ปัญหาโลกร้อนได้หรือไม่ หรือยังสงวนท่าทีที่เกรงใจต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นยังเป็นคำถามใหญ่
-
เมื่อไม่มีมิติการเมือง การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้
ตลอดระยะเวลาที่ “วาระด้านสิ่งแวดล้อม” กลายเป็นกระแสหลัก การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมักจะถูกมองว่า เป็นเรื่องแยกขาดจากการเมืองอย่างสิ้นเชิง เสมือนว่าการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมนั้นอยู่นอกเหนือบริบทความขัดแย้ง และอาจมีสภานะภาพ ‘พิเศษ’ กว่าวาระอื่นๆ ในสังคม
-
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริง ๆ หรือไม่?
เพราะโรคระบาด COVID-19 ทำให้เราเห็นความเชื่อมโยงว่าเรากับธรรมชาติจำเป็นจะต้องพึ่งพากันมากแค่ไหน และแสดงให้เห็นว่าระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโลกปัจจุบันนี้ถูกขับเคลื่อนด้วยวิถีชีวิตที่วุ่นวาย การบริโภคที่ล้นเกินและการผลักภาระให้กับธรรมชาติ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืน
-
Pride month spotlight คุยกับ พริษฐ์ ชมชื่น ‘เมื่อการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศไม่ต่างจากการเรียกร้องให้ปกป้องสิ่งแวดล้อม’
ผมต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนเพื่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งผมมองว่าความไม่ยุติธรรมที่เกิดขึ้นกับโลกของเรามันก็เหมือนกับความไม่ยุติธรรมที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเพศทางเลือก
-
ข่มขู่ อุ้มหาย ลอบสังหาร และการฟ้องคดี ‘ปิดปาก’ – เปิดมุมมองสิทธิมนุษยชนผ่านการต่อสู้เพื่อสิ่งแวดล้อมกับสุภาภรณ์ มาลัยลอย
เราคิดว่าทุกคนควรต้องสนใจกฎหมาย นโยบายในมิติสิ่งแวดล้อมของภาครัฐได้แล้วเพราะมันไม่ได้ไกลตัวเราเลย ทิศทางการพัฒนาที่มาจากรัฐใช้งบประมาณภาษีไปในการพัฒนาแล้วไปทำลายสิ่งแวดล้อม ทำลายวิถีชีวิตของชุมชนหรือเป็นการส่งเสริมชุมชน เราคิดว่าจะต้องสนใจและจับตาเรื่องนโยบายเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น เรื่องการเมืองและสิ่งแวดล้อมมันเป็นเรื่องเดียวกัน
-
ชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมโลก ศาลตัดสินให้การปกป้องสิ่งแวดล้อมสำคัญกว่าผลประโยชน์ทางธุรกิจ
ข่าวดีสำหรับชนพื้นเมืองในนิวซีแลนด์ “ชาวกีวี” ซึ่งคัดค้านการทำเหมืองใต้ทะเล (KASM) และกรีนพีซ เมื่อศาลอุทธรณ์นิวซีแลนด์ยืนยันคำตัดสินไม่ต่อใบอนุญาตให้บริษัททรานส์-ทัสมัน รีซอร์เซส (TTR) เพื่อทำเหมืองในทางตอนใต้ของอ่าวทารานากิไบรท์