All articles
-
UN จัดประชุม CBD COP16 อีกครั้ง สรุปประเด็นกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศก่อนกำหนดมาตรการคุ้มครองธรรมชาติใหม่ให้ CBD COP17
คณะผู้แทนจากรัฐบาลจากหลายประเทศจะรวมประชุมเจรจาด้านความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเวลา 3 วัน เพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศ แม้จะมีความคืบหน้าในมาตรการการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพในการประชุม CBD (Convention on Biological Diversity) COP16 [1] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2567 แต่เหตุการณ์การระงับประชุมในชั่วโมงสุดท้ายที่เกิดขึ้นที่โคลอมเบียสร้างความผิดหวังให้ทั้งพรรคการเมืองหลายพรรคและกลุ่มภาคประชาสังคม ข้อตกลงที่จะเกิดขึ้นในการเจรจาครั้งนี้จะต้องเป็นกองทุนที่รับประกันได้ว่าจะสามารถปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศในช่วงหลายสิบปีข้างหน้าได้เท่าเทียมกัน
-
วิถีชาติพันธุ์ และการยับยั้งวิกฤตสภาพภูมิอากาศสั่นคลอน หลังสภาคว่ำ ม.27
จุดเปลี่ยนสำคัญเกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 ซ้อนทับด้วยพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ทำให้หลายชุมชนถูกพรากสิทธิการมีส่วมร่วมในการจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและพื้นที่ทำกินมาตั้งแต่บรรพบุรษ พี่น้องกลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองกลายเป็น “กลุ่มเปราะบาง” โดยรัฐไทยที่อ้างถึงความมั่นคงแห่งรัฐ
-
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมในลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำคำ เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของหายนะน้ำท่วมดินถล่มที่เชียงรายและอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่อย่างไร
ในบทวิเคราะห์นี้ เราเน้นไปที่การค้นหาความเชี่อมโยงว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์เพื่อส่งออก (Commodity-driven deforestation) เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของหายนะน้ำท่วมดินถล่มที่เชียงราย-เชียงใหม่หรือไม่อย่างไร?
-
กรีนพีซระบุ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของน้ำท่วมดินถล่มในเขตลุ่มน้ำกกในเขตจังหวัดเชียงรายและอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดผลการวิเคราะห์ ชี้ให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมมีผลต่อการเพิ่มขึ้นของ ความเสี่ยงน้ำท่วมดินถล่มในพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพื้นที่อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
-
โลกยังมีหวัง ! : รวมชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปี 2567
นี่คือชัยชนะด้านสิทธิและสิ่งแวดล้อมจากทั่วโลกในปี 2024 ที่เป็นแรงบันดาลใจให้เรายังคงรณรงค์เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมต่อไป
-
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าชะลอไม่ให้โลกร้อนเกิน 1.5 °C
ภาวะโลกเดือดที่เรากำลังเจอทำให้ปัจจุบันมีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้น 1.3องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม (เทียบกับอุณหภูมิในช่วงระหว่างปี ค.ศ.1805 กับ 1900 ) และระดับน้ำทะเลทั่วโลกก็สูงขึ้น 20 เซนติเมตร
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
รายงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas) บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำติดต่อระหว่างประเทศไทย เมียนมา และสปป.ลาว
งานวิจัยของกรีนพีซ ร่วมกับคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ศึกษาถึงความเชื่อมโยงของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในบริเวณลุ่มน้ำกก(Nam Mae Kok Basin) และลุ่มน้ำคำ (Nam Mae Kham Basin) บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศไทยตอนบน รัฐฉานของเมียนมาและสปป.ลาว โดยวิเคราะห์ผลการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลียงสัตว์ การเปลี่ยนพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas)
-
“โลกเย็นที่เป็นธรรม” 5 ปีแห่งการต่อสู้ของคนอมก๋อย สู่ความท้าทายในวิกฤตโลกเดือด
โอ้ ที๊ง แฌ แซ ที๊ง เจ่ ที๊ง เจ่ ทเคแกล้ กแบแฌแซอ้ะ-ดื่มน้ำให้รักษาน้ำ ใช้ป่าให้รักษาป่า” ส่วนหนึ่งของถ้อยแถลงการณ์หมู่บ้านกะเบอะดินได้ตอกย้ำถึงวิถีชนพื้นเมืองชาติพันธุ์ที่อยู่ดูแลป่า และส่งเสียงถึงรัฐบาลที่เอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทมากกว่าปกป้องชุมชนท้องถิ่น
-
ความท้ายทายในวิกฤตโลกเดือด : ครบรอบ 5 ปี การต่อสู้คัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย
กลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังอมก๋อย จัดงาน “โลกเย็นที่เป็นธรรม: 5 ปีแห่งการต่อสู้ของคนอมก๋อย สู่ความท้าทายในวิกฤตโลกเดือด” ที่คริสตจักรกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ นำเสนอความท้าทายที่ชุมชนชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นวาทกรรมตีตราในวิถีชีวิตและการโยนความผิดให้ชนเผ่าพื้นเมืองว่าเป็นผู้ก่อวิกฤตโลกเดือด