All articles
-
อุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นทำให้เต่ามะเฟืองต้องเดินทางหาอาหารไกลขึ้น
งานวิจัยล่าสุดพบ เต่ามะเฟืองหลังจากวางไข่บริเวณหาดฝั่งในประเทศเฟรนซ์เกียนา ในทวีปอเมริกาใต้เสร็จ พวกมันต้องเดินทางไกลขึ้นถึง 2 เท่าเมื่อเทียบกับก่อนหน้านี้ เป็นสัญญาณบ่งชี้ว่าเต่ากำลังเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปรับตัวให้เข้ากับอุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นและกระแสของมหาสมุทรที่เปลี่ยนไปอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
-
วิกฤตไฟป่ามหากาฬในออสเตรเลีย
ไฟป่ามหากาฬที่ออสเตรเลียสร้างความเสียหายครั้งใหญ่ มหาวิทยาลัยซิดนีย์ประเมินโดยรวมว่ามีสัตว์ป่า 480 ล้านตัวได้รับผลกระทบนับตั้งแต่เกิดไฟป่านับในรัฐนิวเซาท์เวลล์ตั้งแต่เดือนกันยายน 2562 จนถึงเดือนธันวาคม 2562
-
ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
-
วิกฤตภูมิอากาศ คือ วิกฤตมหาสมุทรโลก กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้นำโลกแก้ไขปัญหามหาสมุทรโดยด่วน
ผลกระทบของวิกฤตการณ์สภาพภูมิอากาศต่อมหาสมุทรนั้น มีความซับซ้อนและเชื่อมโยงกับความหลากหลายทางชีวภาพและการดำรงอยู่ของมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง ซึ่งต้องการการตอบสนองทางการเมืองทั่วโลกอย่างเร่งด่วนในอีก 12 เดือนข้างหน้า
-
การเดินทางของ Climate Strike ในประเทศไทย ผ่านมุมมองของหลิง นันทิชา โอเจริญชัย
เราเคยท้อแล้วคิดว่าจะไม่ทำ Climate Strike แล้ว แต่ก็มีคนบอกกับเราว่า Climate Strike มันคืองานของเราที่จะต้องสร้างการรับรู้ให้กับคนอื่น งานของเราไม่ใช่การลงมือทำเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น แต่งานของเราคือการสร้างการรับรู้เรื่องของวิกฤตสภาพภูมิอากาศให้ได้ก่อน
-
การกินเนื้อสัตว์ของเรา ทำให้โลกร้อนได้อย่างไร?
ทุกวันนี้มนุษย์เรามีการผลิตเนื้อสัตว์มากกว่าเมื่อ 50 ปีก่อนประมาณ 6 เท่าตัว [1] ซึ่งถามว่าโลกเราก็พื้นที่เท่าเดิม เราผลิตเนื้อสัตว์มากขนาดนี้ได้ยังไง คำตอบง่าย ๆ ก็คือก็เพราะเราถางป่าเพื่อจะสร้างพื้นที่ในการเลี้ยงสัตว์และสร้างพื้นที่ในการปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว์มากขึ้น ซึ่งการใช้ผืนป่าปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว์นี่แหละคือภัยเงียบที่เรามักจะมองไม่เห็น
-
ภาพน่าประทับใจของ #ClimateStrike ทั่วโลก
เมื่อผืนป่าในหลายประเทศกำลังถูกเพลิงเผาผลาญ น้ำแข็งในขั้วโลกกำลังละลาย ความมั่นคงทางอาหารและการเข้าถึงน้ำสะอาดของมนุษย์กำลังถูกคุกคาม หรือสัตว์หลายสายพันธุ์กำลังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ นี่คือความจริงที่แสนจะน่ากลัวที่กำลังเกิดขึ้นจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ เมื่อเดือนกันยายนปี พ.ศ. 2561 นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลกได้ออกคำเตือนต่อมนุษยชาติว่าเรามีเวลาไม่ถึง 12 ปี (หากนับปีนี้จะเป็น 11 ปี) ในการลงมืออย่างจริงจังเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เลวร้ายที่สุดของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรากำลังอยู่ในจุดพลิกผันแห่งประวัติศาสตร์ของวิกฤตสภาพภูมิอากาศร่วมกัน และเมื่อ วันที่ 20 และ 27 กันยายนที่ผ่านมา เยาวชนทั่วโลกต่างหยุดเรียนเพื่อเรียกร้องให้มีการลงมือปกป้องสภาพภูมิอากาศ และนี่คือภาพบรรยากาศกิจกรรม Climate Strike ที่เกิดขึ้นกว่า 150 ประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย
-
เกรียตา ทุนแบร์ย ปลุกให้โลกเปลี่ยน (ตอนที่ 1)
เกรียตาเริ่มสนใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจังตั้งแต่ตอนอยู่ ป.3 อายุแค่ 9 ขวบ จากการเรียนที่โรงเรียนเมื่อครูอธิบายว่าทำไมจึงต้องช่วยกันประหยัดพลังงานและพูดถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน เธอเริ่มสนใจและศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
-
เกรียตา ทุนแบร์ย ปลุกให้โลกเปลี่ยน (ตอนที่ 2)
เกรียตาตัดสินใจเดินทางมาอเมริกา เพื่อเข้าร่วมประชุมสุดยอดเรื่องการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติ (UN Climate Summit) ที่นิวยอร์ก และการประชุมสามัญภาคีสมาชิกอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 25 ที่ซานดิเอโก ประเทศชิลี (COP25) รวมทั้งร่วมประท้วงกับขบวนการหยุดเรียนเพื่อโลกหลายแห่ง
-
เหล่าผู้นำไม่มีที่ให้หลบซ่อนแล้ว เรากำลังจับตาดูอยู่
เหล่าเยาวชนคนรุ่นใหม่จะยังคงออกมาเรียกร้องตามท้องถนน ตามโรงเรียนและตามบ้านต่อไปเรื่อย ๆ ขอแจ้งให้ทราบว่าคุณไม่มีทางหลบหลีกที่จะกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศแล้ว เพราะกลุ่มคนธรรมดาแบบพวกเราจะจับตามองคุณ