-
#ทิ้งแล้วไปไหน เรื่องเล่าจากหลุมขยะนำเข้าในอินโดนีเซีย
เราไม่แน่ใจว่าขยะเหล่านั้นถูกจัดการอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ตอนนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซียกำลังประสบปัญหาเรื่องขยะนำเข้า
-
12 ปีหลังหายนะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ การหันกลับไปใช้พลังงานนิวเคลียร์อาจก่อภาระในอนาคต
ครบรอบ 12 ปีของเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์หายนะโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะตามมาซึ่งสร้างความเสียหายมหาศาลให้กับญี่ปุ่น กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอใช้เวลานี้เพื่อระลึกถึงผู้คนที่ต้องสูญเสียคนที่รักจากเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างสุดซึ้ง และขอส่งความห่วงใยของเราไปยังทุก ๆ คนที่ได้รับผลกระทบ ตลอดเวลา 12 ปีที่ผ่านมา หลายภาคส่วนได้พยายามฟื้นฟูพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบตามระบบ แต่ขณะเดียวกัน รัฐบาลญี่ปุ่นกลับมีท่าทีชัดเจนว่าจะนำโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กลับมาอีกครั้ง
-
ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ ประเทศไทย ต่อพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง 2566
ในการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในปี 2566 นี้ กรีนพีซ ประเทศไทย ในฐานะเป็นองค์กรรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม มีข้อเสนอต่อพรรคการเมือง ผู้กำหนดนโยบาย และรัฐบาลไทย ในประเด็นสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย
-
ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ = ความเป็นธรรมทางเพศ
ร่วมทำความเข้าใจเรื่องราวการต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีใน #WomenHistoryMonth ทำไมสิทธิสตรีจึงเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และทำไม ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ = ความเป็นธรรมทางเพศ
-
สนธิสัญญาทะเลหลวงผ่านแล้ว! ก้าวประวัติศาสตร์ปกป้องมหาสมุทรโลก
ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ความทุ่มเทของนักวิทยาศาสตร์ นักอนุรักษ์ นักกิจกรรม และผู้คนทั่วโลกพยายามผลักดันให้เกิดสนธิสัญญาดังกล่าว บล็อกนี้เราจึงจะพาย้อนดูที่มาของการเจรจาสนธิสัญญา ช่วงเวลาประวัติศาสตร์ และอนาคตของมหาสมุทรโลกหลังได้สนธิสัญญา
-
เมื่อแนวคิด 75 ปีก่อน ยังปิดทางการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ของคนไทยในปัจจุบัน
4 ปีมาแล้ว ที่คนไทยยังต้องเจอฝุ่นพิษ PM2.5 เราเคยสงสัยไหมว่าทำไมกฎหมายอากาศสะอาดที่จะมาแก้ปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 ของไทย ถึงไม่เกิดเสียที ทั้งที่ประชาชนต้องการ และพรรคการเมืองต่างๆ สนับสนุน จนเกิดร่างกฎหมายสะอาดและกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษกว่า 5 ฉบับเข้าไปแล้ว สาเหตุอาจน่าเจ็บใจกว่าที่คิด นั่นคือเรายังคงใช้แนวคิดของ “กฎหมายเกี่ยวด้วยการเงิน” เมื่อ 75 ปีก่อน มาปัดตกกฎหมายที่จะมาปกป้องชีวิตผู้คนในยุคปัจจุบันทิ้งไปอย่างน่าเสียดาย
-
วันสตรีสากล: กรีนพีซร่วมกับชาวประมงหญิงเรียกร้องสิทธิสตรีในมหาสมุทร
ดาการ์, เซเนกัล 8 มีนาคม 2566 - กรีนพีซลงนามเป็นส่วนหนึ่งในข้อเรียกร้องของชุมชนประมงชายฝั่งถึงผู้นำและรัฐบาล ในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากร รวมถึงรับประกันสิทธิผู้หญิงในกระบวนการจัดการทรัพยากร
-
รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยนเรศวร และ กรีนพีซ ประเทศไทย ขอชวนอ่าน “รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย” (Mercury Emission from Coal Plants in Thailand) ที่จะทำให้เรารู้จักปรอทในบริบทของประเทศไทยมากขึ้น สำรวจแนวโน้มของการปนเปื้อนปรอทในอาหาร และเห็นว่าการรั่วไหลของปรอทต่อระบบนิเวศเป็นภัยคุกคามต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร
-
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: การลงทุนข้ามพรมแดนและมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
ปัญหาที่ไม่ถูกจำกัดด้วยเขตพรมแดนประเทศอย่างมลพิษทางอากาศนั้น ในสถานการณ์ฝุ่นควันพิษที่ภาคเหนือตอนบนของไทยเผชิญเป็นประจำทุกปีมีความเกี่ยวข้องกับมลพิษและการลงทุนข้ามพรมแดนอย่างไร
-
สภาพอากาศยุโรปปั่นป่วน ! เผชิญภัยแล้งที่ระดับน้ำในคลองเวนิสลดต่ำจนแล่นเรือไม่ได้
ขณะนี้ประเทศอิตาลีเป็นอีกประเทศที่กำลังเจอกับผลกระทบภัยแล้งอย่างหนัก ล่าสุดเมืองแห่งคูคลองชื่อดังอย่างเวนิสที่มีเรืออันเป็นเอกลักษณ์อย่าง ‘เรือกอนโดลา’ ไม่สามารถแล่นได้