• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว ระบบนิเวศ ไลฟ์สไตล์ ปฏิวัติระบบอาหาร

    การกินเนื้อสัตว์ของเรา ทำให้โลกร้อนได้อย่างไร?

    ทุกวันนี้มนุษย์เรามีการผลิตเนื้อสัตว์มากกว่าเมื่อ 50 ปีก่อนประมาณ 6 เท่าตัว [1] ซึ่งถามว่าโลกเราก็พื้นที่เท่าเดิม เราผลิตเนื้อสัตว์มากขนาดนี้ได้ยังไง คำตอบง่าย ๆ ก็คือก็เพราะเราถางป่าเพื่อจะสร้างพื้นที่ในการเลี้ยงสัตว์และสร้างพื้นที่ในการปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว์มากขึ้น  ซึ่งการใช้ผืนป่าปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว์นี่แหละคือภัยเงียบที่เรามักจะมองไม่เห็น

    กรีนพีซ ประเทศไทย •
    18 October 2019
    8 min read
  • Global Climate Strike in Bangkok. © Tadchakorn  Kitchaiphon / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ คนและสังคม

    ภาพน่าประทับใจของ #ClimateStrike ทั่วโลก

    เมื่อผืนป่าในหลายประเทศกำลังถูกเพลิงเผาผลาญ น้ำแข็งในขั้วโลกกำลังละลาย ความมั่นคงทางอาหารและการเข้าถึงน้ำสะอาดของมนุษย์กำลังถูกคุกคาม หรือสัตว์หลายสายพันธุ์กำลังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ นี่คือความจริงที่แสนจะน่ากลัวที่กำลังเกิดขึ้นจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ  เมื่อเดือนกันยายนปี พ.ศ. 2561 นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลกได้ออกคำเตือนต่อมนุษยชาติว่าเรามีเวลาไม่ถึง 12 ปี (หากนับปีนี้จะเป็น 11 ปี) ในการลงมืออย่างจริงจังเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เลวร้ายที่สุดของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรากำลังอยู่ในจุดพลิกผันแห่งประวัติศาสตร์ของวิกฤตสภาพภูมิอากาศร่วมกัน และเมื่อ วันที่ 20 และ 27 กันยายนที่ผ่านมา เยาวชนทั่วโลกต่างหยุดเรียนเพื่อเรียกร้องให้มีการลงมือปกป้องสภาพภูมิอากาศ และนี่คือภาพบรรยากาศกิจกรรม Climate Strike ที่เกิดขึ้นกว่า 150 ประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย

    Lock Thitikorn •
    9 October 2019
    4 min read
  • Portrait of Activist Greta Thunberg. © Anders Hellberg
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    คนและสังคม การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    เกรียตา ทุนแบร์ย ปลุกให้โลกเปลี่ยน (ตอนที่ 1)

    เกรียตาเริ่มสนใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจังตั้งแต่ตอนอยู่ ป.3 อายุแค่ 9 ขวบ จากการเรียนที่โรงเรียนเมื่อครูอธิบายว่าทำไมจึงต้องช่วยกันประหยัดพลังงานและพูดถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน เธอเริ่มสนใจและศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

    ดร.เพชร มโนปวิตร •
    27 September 2019
    11 min read
  • Global Climate Strike in New York. © Stephanie Keith / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    คนและสังคม การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    เกรียตา ทุนแบร์ย ปลุกให้โลกเปลี่ยน (ตอนที่ 2)

    เกรียตาตัดสินใจเดินทางมาอเมริกา เพื่อเข้าร่วมประชุมสุดยอดเรื่องการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติ (UN Climate Summit) ที่นิวยอร์ก และการประชุมสามัญภาคีสมาชิกอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 25 ที่ซานดิเอโก ประเทศชิลี (COP25) รวมทั้งร่วมประท้วงกับขบวนการหยุดเรียนเพื่อโลกหลายแห่ง

    ดร.เพชร มโนปวิตร •
    27 September 2019
    11 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    เหล่าผู้นำไม่มีที่ให้หลบซ่อนแล้ว เรากำลังจับตาดูอยู่

    เหล่าเยาวชนคนรุ่นใหม่จะยังคงออกมาเรียกร้องตามท้องถนน ตามโรงเรียนและตามบ้านต่อไปเรื่อย ๆ  ขอแจ้งให้ทราบว่าคุณไม่มีทางหลบหลีกที่จะกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศแล้ว เพราะกลุ่มคนธรรมดาแบบพวกเราจะจับตามองคุณ

    Greenpeace International •
    23 September 2019
    2 min read
  • Forest Fires in Altamira, Pará, Amazon (2019). © Victor Moriyama / Greenpeace
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ป่าไม้ ไลฟ์สไตล์ ระบบนิเวศ ปฏิวัติระบบอาหาร

    กินเนื้อน้อยลง คือทางออกของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ

    ท่ามกลางอัตราการทำลายป่าแอมะซอนที่เพิ่มขึ้นในช่วงนี้ รายงานล่าสุดจากคณะกรรมการ ระหว่างรัฐบาล ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือ IPCC ได้เผยว่า การกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย หากปราศจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการใช้ป่าและผืนดิน และการปรับเปลี่ยนวิถึการบริโภคของมนุษย์ให้กินเนื้อสัตว์น้อยลง

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    28 August 2019
    5 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ป่าไม้ ระบบนิเวศ

    ไฟป่าแอมะซอนและวิกฤตสภาพภูมิอากาศ

    ภาพทะเลเพลิงที่ลุกไหม้ทำลายผืนป่าแอมะซอนในช่วงหลายวันที่ผ่านมาคือสิ่งที่ทำให้เรารู้สึกสะเทือนใจแม้จะอยู่ห่างออกไปอีกมุมโลก ระบบนิเวศป่าแอมะซอนผลิตออกซิเจนร้อยละ 20 ให้กับโลก ช่วยรักษาสมดุลสภาพภูมิอากาศและอุณหภูมิโลก  และอัคคีภัยครั้งประวัติศาสตร์นี้จะทำให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศนั้นเป็นเรื่องที่น่ากังวลใจยิ่งกว่าเดิม

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    23 August 2019
    5 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ป่าไม้ ระบบนิเวศ ปฏิวัติระบบอาหาร

    รายงาน IPCC ระบุต้องเปลี่ยนวิถีการใช้ผืนดิน เพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ

    การปกป้องและฟื้นฟูผืนป่า รวมถึงปรับเปลี่ยนระบบอาหารของโลกอย่างเร่งด่วนผ่านการบริโภค คือทางออกของการคืนความสมบูรณ์ของผืนดินและหยุดยั้งวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ตามข้อมูลรายงานของสหประชาชาติ

    Greenpeace Thailand •
    8 August 2019
    4 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    คนและสังคม ไลฟ์สไตล์ ระบบนิเวศ

    คำถามท้าทายเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศ “ฉันจะทำอะไรได้บ้าง?”

    เราต้องการการกระทำจากส่วนรวมเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงระบบที่เราต้องการจะเห็น

    Paula Tejón Carbajal •
    5 August 2019
    7 min read
  • Protest at Coal Power Plant Niederaussem in Germany. © Daniel Müller / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    9 วิธีที่มนุษย์เปลี่ยนสภาพภูมิอากาศยุคปัจจุบันไปตลอดกาล

    อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมปีนี้สูงขึ้นถึง 1.5 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบอุณหภูมิเฉลี่ยในต้นศตวรรษที่ 19 ผู้คนที่ปฏิเสธโลกร้อนต่างอ้างว่าการแปรผันของอุณหภูมิตั้งแต่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมไม่ใช่เรื่องผิดปกติของความผันผวนของอุณหภูมิในยุคโฮโลซีน หรือช่วง 11,700 ปีก่อนนับตั้งแต่ยุคน้ำแข็ง พวกเขาจึงอ้างว่า การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยมนุษย์ไม่ถือเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้มหาสมุทรและชั้นบรรยากาศของโลกนั้นร้อนขึ้น

    Rex Weyler •
    1 August 2019
    12 min read
Prev
1 … 32 33 34 35 36 … 39
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้