-
บุญยืน ศิริธรรม: ประเทศไทยมีแดดมากพอ นโยบายของรัฐต่างหากที่ ‘บังแดด’ และผลักคนไทยออกจากการเข้าถึงพลังงานแสงอาทิตย์
บุญยืน ศิริธรรม ต่อสู้เพื่อความชอบธรรมของพี่น้องประชาชาชนมามากกว่า 30 ปี จากนักสู้ที่เรียกร้องและมักจะเป็นผู้ร้องทุกข์ต่อรัฐจนเกิดความเปลี่ยนแปลงในหมู่บ้านซึ่งเป็นถิ่นเกิดในจังหวัดสมุทรสงคราม
-
วาระการปลดระวางถ่านหินโลก ในวันที่ภาคธุรกิจต้องคำนึงถึงสิทธิมนุษยชนมากขึ้น
สิ่งที่จะสามารถสร้างความมั่นใจและความชัดเจนให้กับพี่น้องชุมชนทั้งที่แม่ทะและอมก๋อย คือ ต้องทำให้เกิดการชี้แจ้งของภาคธุรกิจที่ต้องปฏิบัติภายใต้ความรับผิดชอบตามบริบทด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ซึ่งหนึ่งในหลักการสำคัญที่ภาคธุรกิจควรต้องทำ คือ หลักการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence: HRDD) และแนวปฏิบัติในการตรวจสอบของธุรกิจสำหรับการดำเนินธุรกิจที่ต้องมีความรับผิดชอบ
-
“โลกเย็นที่เป็นธรรม” 5 ปีแห่งการต่อสู้ของคนอมก๋อย สู่ความท้าทายในวิกฤตโลกเดือด
โอ้ ที๊ง แฌ แซ ที๊ง เจ่ ที๊ง เจ่ ทเคแกล้ กแบแฌแซอ้ะ-ดื่มน้ำให้รักษาน้ำ ใช้ป่าให้รักษาป่า” ส่วนหนึ่งของถ้อยแถลงการณ์หมู่บ้านกะเบอะดินได้ตอกย้ำถึงวิถีชนพื้นเมืองชาติพันธุ์ที่อยู่ดูแลป่า และส่งเสียงถึงรัฐบาลที่เอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทมากกว่าปกป้องชุมชนท้องถิ่น
-
แถลงการณ์ “ทรัพยากรในโลกมีเพียงพอที่จะหล่อเลี้ยงคนทั้งโลก แต่ไม่มีเพียงพอที่จะหล่อเลี้ยงคนที่มีความโลภเพียงคนเดียว”
เนื่องในโอกาสครบรอบ 5 ปี พวกเราชุมชนบ้านกะเบอะดิน ตำบลอมก๋อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และชุมชนเส้นทางขนส่งแร่ ร่วมกับภาคีเครือข่ายภาคประชาชนทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ได้ร่วมกันต่อสู้คัดค้านโครงการเหมืองแร่ถ่านหิน ซึ่ง หลังจากชุมชนได้ฟ้องศาลปกครองเชียงใหม่ขอเพิกถอนรายงาน EIA ไปเมื่อสองปีที่แล้ว ปัจจุบันศาลปกครองได้มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ไม่ให้นำรายงาน EIA ไปออกประทานบัตรได้จนกว่าศาลจะมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งเป็นอย่างอื่นนั้น
-
ความท้ายทายในวิกฤตโลกเดือด : ครบรอบ 5 ปี การต่อสู้คัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย
กลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังอมก๋อย จัดงาน “โลกเย็นที่เป็นธรรม: 5 ปีแห่งการต่อสู้ของคนอมก๋อย สู่ความท้าทายในวิกฤตโลกเดือด” ที่คริสตจักรกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ นำเสนอความท้าทายที่ชุมชนชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นวาทกรรมตีตราในวิถีชีวิตและการโยนความผิดให้ชนเผ่าพื้นเมืองว่าเป็นผู้ก่อวิกฤตโลกเดือด
-
เมื่อน้ำท่วมภาคใต้ของไทยไม่ใช่เรื่องปกติอีกต่อไป
เหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ทางภาคเหนือตอนบนของไทยผ่านไปได้เพียงไม่กี่เดือน ประเทศไทยก็ได้เผชิญอุทกภัยครั้งใหญ่อีกครั้ง คราวนี้ปักหมุดอยู่ที่จังหวัดชายแดนใต้ของไทย
-
ทำไมการชดเชยคาร์บอน (Offsets) และการลดคาร์บอนแบบอินเซ็ต (Insets) ถึงไม่ใช่ทางออกของวิกฤตโลกเดือด
นี่คือกลอุบายและกลยุทธ์นานัปการที่บริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่ใช้ฟอกเขียวความพยายามที่จะบรรเทาผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของตน จะเบนเข็มไปจากลดการผลิตและการบริโภคปศุสัตว์ที่เกินขนาด ซึ่งจะเป็นวิธีการแก้วิกฤตโลกเดือดที่อุตสาหกรรมเหล่านี้เป็นผู้ก่อได้ตั้งแต่ต้นทาง
-
โครงการเหมืองใต้ทะเลลึกสะดุด รัฐบาลนอร์เวย์ไม่ออกใบอนุญาต
หลังจากการกดดันจากเหล่านักกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม กลุ่มนักวิทยาศาสตร์และชุมชนจากทั่วโลกอย่างหนักมาหลายปี ในที่สุดรัฐบาลนอร์เวย์ก็ลงมติยุติการออกใบอนุญาตรอบแรกสำหรับโครงการเหมืองทะเลลึกในน่านน้ำอาร์กติก
-
การต่อสู้ยังคงดำเนินต่อไป : การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกระดับโลกยังไม่ได้ข้อสรุป
การประชุมครั้งที่ 5 ของคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาล (INC5) เพื่อผลักดันสนธิสัญญาพลาสติกระดับโลกสิ้นสุดลงในวันนี้ โดยมีมติเพื่อจัดการเจรจาครั้งสุดท้ายอีกครั้งเพื่อหาข้อตกลงร่วมกัน
-
เพราะเหตุใดลดมีเทนจาก Food Waste จึงไม่เท่าลดการผลิตล้นเกินของอุตสาหกรรมอาหารและเนื้อสัตว์
การทำปศุสัตว์เป็นแหล่งผลิตก๊าซมีเทนจากมนุษย์รายใหญ่ที่สุด ซึ่งก๊าซมีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีศักยภาพในการทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเร็วในระยะเวลาสั้น การเพิ่มขึ้นของการผลิตปศุสัตว์เป็นปัจจัยสำคัญอันดับสองที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบอาหารโลก อันเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา