-
ทะเลถูกคุกคาม ความมั่นคงทางอาหารสั่นคลอน ผู้บริโภคอย่างเราทำอะไรได้บ้าง
ทะเลถูกคุกคาม ความมั่นคงทางอาหารสั่นคลอน ผู้บริโภคอย่างเราทำอะไรได้บ้างทะเล ก่อนปลาหมดไปในอนาคต
-
อำนาจนิยมที่ไม่นิยมกฎหมาย PRTR
กระบวนการตรวจสอบโรงงาน-ความปลอดภัย ช่องโหว่ของกฎหมายโรงงานอุตสาหกรรม และความจำเป็นต้องมีกฎหมายการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register: PRTR)
-
กรีนพีซเปิดแผนที่เสี่ยงภัยโลกร้อนในเมืองใหญ่ของจีนที่เพิ่มขึ้นจากเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว
รายงานฉบับใหม่จากกรีนพีซ เอเชียตะวันออกวิเคราะห์ถึงความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากระดับอุณหภูมิที่สูงขึ้นสุดขั้วและปรากฎการณ์ฝนตกหนักในเขตปริมณฑลรอบกรุงปักกิ่ง
-
ทิศทางและภาพรวม “พลังงานถ่านหินไทยในปี 2564”
สรุปประเด็นที่น่าสนใจจากไลฟ์ “พลังงานถ่านหินกับอุตสาหกรรมไทย : ตีแผ่เบื้องหลังการใช้ถ่านหินในอุตสาหกรรมไทยและ EIA กับสิทธิชุมชน” ตอน ทิศทางและภาพรวม “พลังงานถ่านหินไทยในปี 2564”
-
ผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย หมิงตี้เคมิคอลต้องจ่ายเท่าไหร่ !?!
“เหตุการณ์นี้เหมือนเดจาวู ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แล้วในอนาคตก็จะเกิดอีก” ดร.สมนึก จงมีวศิณ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ กลุ่มศึกษาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC Watch) เริ่มต้นการพูดคุยในเวทีเสวนา “#ผนงรจตกม: ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?” ซึ่งจัดโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม EEC Watch และกรีนพีซ ประเทศไทย จากกรณีการระเบิดและอุบัติภัยเพลิงสารเคมีจากถังเก็บโพลีสไตรีน(polystyrene) และเพนเทน(pentane) ซึ่งเป็นสารเคมีตั้งต้นในการผลิตโฟม EPS (Expandable Polystyrene)ของ บริษัท หมิงตี้เคมีคอล จำกัด ในเครือ Ming…
-
ส่องงบสิ่งแวดล้อม 2565 เปรียบเทียบกับสถิติมลพิษทางสิ่งแวดล้อม
สารเคมีอันตรายปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมได้กลายมาเป็นที่ถกเถียงอีกครั้งหลังเหตุการณ์อุบัติภัยโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล แต่งบประมาณด้านสิ่งแวดล้อมของในปี 2565 นั้นถูกหั่นลงเกือบครึ่ง จึงอาจเกิดคำถามว่างบประมาณที่มีจะเพียงพอและสมเหตุสมผลสำหรับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่กลายเป็นวิกฤตเพิ่มขึ้นทุกวันหรือเปล่า?
-
เอกสารประกอบเวทีสาธารณะออนไลน์ #ผนงรจตกม : ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?
เอกสารและ Presentation ประกอบจากเวทีเสวนาออนไลน์ Live Stream เวทีสาธารณะออนไลน์ “#ผนงรจตกม : ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?”
-
แถลงการณ์ กรีนพีซ ประเทศไทย อุบัติภัยอุตสาหกรรมในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดสมุทรปราการและความจำเป็นของกฏหมาย PRTR ในประเทศไทย
“เราขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งกับครอบครัวเจ้าหน้าที่กู้ภัยที่เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ และเป็นอีกครั้งหนึ่งในจำนวนนับครั้งไม่ถ้วนที่สังคมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนโดยรอบโรงงานอุตสาหกรรม ต้องเผชิญกับอุบัติภัยสารเคมีร้ายแรง”
-
ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นจริงหรือ?
ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นได้อย่างไร เพิ่มขึ้นแล้วทำไม และเราทำอะไรได้บ้าง?
-
ยูเนสโกเตือน ความล้มเหลวของนโยบายสภาพภูมิอากาศของรัฐบาลออสเตรเลีย จะทำให้เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ กลายเป็น “มรดกโลกที่ตกอยู่ในอันตราย”
การสนับสนุนอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลของรัฐบาลออสเตรเลีย รวมถึงการขาดนโยบายสภาพภูมิอากาศที่น่าเชื่อถือ ทำให้ล่าสุด องค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้ออกมาเตือนว่า เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ มรดกทางนิเวศวิทยาที่สำคัญของโลกจะตกอยู่ในอันตราย