-
อาสาสมัครกรีนพีซเก็บขยะพลาสติกเพื่อตรวจสอบแบรนด์ที่บางกะเจ้า
อาสาสมัครกรีนพีซ ราว 40 คน ร่วมเก็บขยะบริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติฯ 80 พรรษา คุ้งบางกะเจ้า และตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit) เพื่อรวบรวมข้อมูลประเภทพลาสติกและแบรนด์สินค้าที่พบในสิ่งแวดล้อมของชุมชนบางกะเจ้า โดยข้อมูลที่รวบรวมได้ดังกล่าวจะถูกนำไปรวมกับข้อมูลที่เก็บได้ในพื้นที่อื่น ๆ เพื่อสรุปผลเป็นข้อมูลรายปีว่าพบเจอขยะพลาสติกประเภทใดและแบรนด์ใดมากที่สุด
-
“ฉลากการรับรอง FSC” ไม่ได้มีความหมายแบบที่คุณคิด
ผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากความยั่งยืนกำกับไม่ได้บ่งบอกเสมอไปว่าสินค้าชนิดนั้นไม่ได้เชื่อมโยงกับการตัดไม้ทำลายป่าและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
-
การรับรองขององค์กรจัดการป่าไม้ (FSC) เป็นการทำลายป่าแบบฟอกเขียว
อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์ - จากรายงานของกรีนพีซสากลพบว่าบริษัทที่ได้รับการรับรองซึ่งรวมถึงฉลาก FSC (Forest Stewardship Council) นั้นมีความเชื่อมโยงกับการทำลายป่าไม้ ข้อพิพาทเรื่องที่ดิน และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
-
ทำไมเราต้อง #ปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล เพื่อร่วมกันสร้างความยุติธรรมทางสังคม!
โลกที่เราอาศัยอยู่ทุกวันนี้หมุนรอบระบบเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับการเติบโตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เหนือคุณภาพชีวิตของผู้คนและสิ่งแวดล้อม ระบบนี้แย่งชิงทรัพยากรของโลกและยังเอารัดเอาเปรียบผู้เปราะบางที่สุด นอกจากนั้นยังซ้ำเติมความเหลื่อมล้ำเชิงโครงสร้างและสร้างผลกระทบต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศในระดับที่ลึกซึ้ง โดยมี “ทุนฟอสซิล” จากเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นตัวการสำคัญ
-
ข้อมูลจากรายงานคุณภาพอากาศโลกระบุ ปี 2563 คุณภาพอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
ข้อมูลคุณภาพอากาศโลกชุดใหม่จาก IQAir และแผนที่คุณภาพอากาศของโลกระบุว่า ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการล็อกดาวน์และทำให้พฤติกรรมของมนุษย์ทั่วโลกเปลี่ยนไปส่งผลต่อระดับมลพิษ PM 2.5
-
เสียงจากบางกลอยถึงทำเนียบฯ และเรื่องเล่าจากผืนป่าแก่งกระจาน
“อยากให้สังคมไทยเข้าใจการที่ว่าพวกเราอยู่ในป่า พวกเราไม่ใช่คนบุกรุก แต่เป็นคนรักษาป่า เพราะถ้าบุกรุกจริงก็แปลว่าเราจะอยู่กับมันไม่ได้”
-
5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับช้าง
ช้างกินอ้อยเป็นอาหารหลักจริงหรือไม่? ทำไมช้างตกมัน? ชวนอ่าน 5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับช้างที่จะทำให้คุณรู้จักสัตว์ยักษ์ใหญ่ชนิดนี้ได้ดีขึ้นกว่าเดิม
-
หนึ่งทศวรรษหลังจากหายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ กรีนพีซเรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นเปลี่ยนผ่านสู่ระบบพลังงานหมุนเวียน
เนื่องในเหตุการณ์รำลึกถึงหายนะภัยนิวเคลียร์ที่เมืองฟุกุชิมะในญี่ปุ่นเมื่อ 10 ปีก่อน กรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้ออกแถลงการณ์ต่อไปนี้
-
รำลึกฟุกุชิมะ : ร่วมกันหยุดความเลวร้ายจากนิวเคลียร์
ในปี 2564 นี้เป็นครบรอบ 10 ปีกับหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ (11 มีนาคม พ.ศ.2554 หรือที่เราเรียกกันว่าเหตุการณ์ 311) กรีนพีซจึงชวนนักรณรงค์ของเราจากฮ่องกง เกาหลีใต้ และโตเกียว มาพูดคุยถึงความร่วมมือกันตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาในการรณรงค์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ฟุกุชิมะและทำไมในตอนนี้ถึงยังเป็นเรื่องที่สำคัญอยู่
-
โลกเราสวยงามขนาดนี้ จะหมดหวังได้อย่างไร?
ภาพถ่ายดาวเทียมจากอวกาศยังแสดงให้เห็นว่าเราอาศัยอยู่บนดาวเคราะห์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ซึ่งเต็มไปด้วยสิ่งมหัศจรรย์อันน่าทึ่งและธรรมชาติอันเปี่ยมไปด้วยแรงบันดาลใจ จึงถึงเวลาแล้วที่เราจะหันมาพิจารณาอย่างช้า ๆ ไปพร้อมกับหวนคิดว่ามันสำคัญแค่ไหนที่เราจะต้องรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสภาพภูมิอากาศเสียที