-
วิกฤตภูมิอากาศ คือ วิกฤตมหาสมุทรโลก กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้นำโลกแก้ไขปัญหามหาสมุทรโดยด่วน
ผลกระทบของวิกฤตการณ์สภาพภูมิอากาศต่อมหาสมุทรนั้น มีความซับซ้อนและเชื่อมโยงกับความหลากหลายทางชีวภาพและการดำรงอยู่ของมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง ซึ่งต้องการการตอบสนองทางการเมืองทั่วโลกอย่างเร่งด่วนในอีก 12 เดือนข้างหน้า
-
กฎหมายเอาผิดบริษัทต่อการก่อเกิดไฟป่า คือจิ๊กซอว์แก้ปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดน
มลพิษทางอากาศไม่มีขอบเขตแดนประเทศ เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เผชิญกับคุณภาพอากาศที่เลวร้ายในช่วงเวลาหลายเดือนของปี ไม่ว่าจะเป็นช่วงต้นปีที่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงหรือกลางปีจากการเผาป่าที่อินโดนีเซีย ราว 6 ประเทศของภูมิภาคต้องทนกับวิกฤตสุขภาพนี้ราวกับเป็นเรื่องปกติของปี
-
การเดินทางของ Climate Strike ในประเทศไทย ผ่านมุมมองของหลิง นันทิชา โอเจริญชัย
เราเคยท้อแล้วคิดว่าจะไม่ทำ Climate Strike แล้ว แต่ก็มีคนบอกกับเราว่า Climate Strike มันคืองานของเราที่จะต้องสร้างการรับรู้ให้กับคนอื่น งานของเราไม่ใช่การลงมือทำเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น แต่งานของเราคือการสร้างการรับรู้เรื่องของวิกฤตสภาพภูมิอากาศให้ได้ก่อน
-
ขยะทุกชิ้น It could be yours มั่นใจได้ยังไงว่ามลพิษพลาสติกไม่ได้เกิดจากตัวเรา
เรามักคุ้นตากับการเก็บขยะ แต่เราไม่เคยเห็นใครเก็บขยะแล้วเห็นภาพความจริงว่า ปัญหามลพิษพลาสติกในตอนนี้มันก้าวไปไกลกว่าปัญหาขยะทั่วไปแล้ว ซึ่ง “ณัฎฐพัชร์” ถ่ายทอดเรื่องนี้ผ่านหน้าเฟซบุ๊คของเธอได้อย่างตรงไปตรงมาและชัดเจน
-
Slow Fashion เลือกเสื้อผ้าอย่างไร ให้เป็นมิตรกับโลก
คนอาจสงสัยว่าการซื้อเสื้อผ้าของเราทำลายสิ่งแวดล้อมขนาดนั้นเลยเหรอ? คำตอบคือใช่
-
“พลังงานแสงอาทิตย์” เส้นทางสู่ “ขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ”
รองนายกเทศมนตรีจังหวัดขอนแก่น คุณจุลนพ ทองโสพิศ และ คุณทัศนัย ประจวบมอญ ผู้อำนวยการส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม งานบริหารกองทุนสุขภาพ เทศบาลนครขอนแก่น ในฐานะคณะผู้บริหารเทศบาลนครขอนแก่น และคณะทำงานโครงการคนขอนแก่นหัวใจไร้มลพิษ พูดคุยถึงนโยบาย “ขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ” ที่ทางเทศบาลมีเป้าหมายจะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้ได้ 105,000 ตันภายในระยะเวลา 4 ปี
-
อันตราย! เมื่อมลพิษทางอากาศ ทำร้ายประชากรในโลก
ที่ผ่านมา ประชากรที่อาศัยอยู่ในอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถาน จีน ไนจีเรีย อินโดนีเซียและเม็กซิโก ต้องสัมผัสกับระดับมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 ที่สูงเกินกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ นอกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้วยังมีผู้คนอีกร้อยละ 75 ในทวีปยุโรปที่ต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับฝุ่นละออง PM2.5 เกินกว่าค่ามาตรฐาน
-
ในวันที่ฝุ่นควัน PM 2.5 กับปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่ไม่อาจมองข้าม คุยกับนายแพทย์รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์
ปัญหาฝุ่นควันไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับชาวเชียงใหม่ และแม้ว่าในอดีตจะเคยเกิดเหตุการณ์ที่ฝุ่นควันบดบังดอยสุเทพจนมองไม่เห็น ทว่าคำถามคือ ทำไมปัญหานี้ถึงยังไม่ได้รับการแก้ไขสักที เราหอบหิ้วความสงสัยนี้ไปถาม ‘หมอหม่อง’ นายแพทย์รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ในฐานะอาจารย์แพทย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่หลายๆ คนอาจรู้จักเขาในฐานะนักเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ผู้ขับเคลื่อนประเด็นฝุ่นควันในเชียงใหม่มาตลอดหลายปี
-
การนำกลับมาใช้ซ้ำและการเติม: ความท้าทายของผู้ผลิต ในการกำจัดมลพิษพลาสติก
ท่ามกลางวิกฤตมลพิษพลาสติกในปัจจุบันที่ทวีความรุนแรงขึ้น และการเรียกร้องให้ผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งก็ยังไม่ตอบโจทย์ความเร่งด่วนของปัญหานี้ได้ดีเท่าที่ควร ภาคธุรกิจซึ่งเป็นผู้ผลิตพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งจึงจำเป็นต้องก้าวมาเป็นหนึ่งในคนจัดการปัญหาพลาสติกไปพร้อม ๆ กับกระบวนการจัดการของภาครัฐและพฤติกรรมลดใช้ของผู้บริโภค
-
เมื่อครูลุกขึ้นปฏิวัติพลังงาน ในโรงเรียนแสงอาทิตย์บ้านปุน
สำหรับใครที่ติดตามประเด็นเรื่องพลังงานนั้นอาจทราบดีว่า นอกจากจะมีประโยชน์ในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอุตสาหกรรมพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับโรงพยาบาลแล้ว พลังงานแสงอาทิตย์ยังเป็นพลังงานหมุนเวียนที่นำมาใช้ในวงการการศึกษาอีกด้วย