All articles
-
หนึ่งทศวรรษหลังจากหายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ กรีนพีซเรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นเปลี่ยนผ่านสู่ระบบพลังงานหมุนเวียน
เนื่องในเหตุการณ์รำลึกถึงหายนะภัยนิวเคลียร์ที่เมืองฟุกุชิมะในญี่ปุ่นเมื่อ 10 ปีก่อน กรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้ออกแถลงการณ์ต่อไปนี้
-
รู้จักทูน่ากระป๋องในมิติที่มากกว่าราคา ผ่านเรื่องเล่าที่คุณช่วยเปลี่ยนให้ดีขึ้นได้บนแพลตฟอร์มออนไลน์ล่าสุดจากกรีนพีซ
กรุงเทพฯ, 5 มีนาคม 2564— เปิดกระป๋องแบรนด์ทูน่าไทย เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ล่าสุดจากกรีนพีซ ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริโภคเข้าใจเรื่องราวด้านสิ่งแวดล้อม นโยบายแรงงาน และความโปร่งใสของแบรนด์ทูน่าไทย ผ่านการเล่าเรื่องด้วยข้อมูลและดีไซน์ (data and virtual storytelling) เพื่อส่งเสียงและความคิดเห็นไปยังผู้ผลิต
-
รื้อแผนฟื้นฟูครั้งใหม่ : พื้นที่ร้อยละ 85 ของฟุกุชิมะ ไดอิจิ ยังคงปนเปื้อนรังสีนิวเคลียร์จากแผนการปลดระวางโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เดิมล้มเหลว
เดือนนี้เป็นวาระครบรอบ10ปีหายนะจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ กรีนพีซเผยแพร่รายงาน 2 ฉบับ ว่าด้วยผลพวงที่เกิดขึ้นอย่างสลับซับซ้อนหลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว และสึนามิ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554
-
แถลงการณ์กรีนพีซ ประเทศไทย “สิทธิทางสิ่งแวดล้อมของชนเผ่าพื้นเมือง”
กรีนพีซ ประเทศไทย ในฐานะเป็นองค์กรรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นอิสระและเป็นส่วนหนึ่งของภาคประชาสังคมในประเทศไทย เราเชื่อมั่นว่า การเคารพสิทธิของชนเผ่าพื้นเมือง (indigenous rights) และการฟื้นฟูสิทธิในการกำหนดอนาคตของตนเอง (self-determination) คือหัวใจสำคัญในการต่อสู้เพื่อปกป้องและฟื้นฟูธรรมชาติรวมถึงนิเวศบริการโดยรวมต่อสังคมไทย
-
กรีนพีซระบุวิกฤตฝุ่น PM 2.5 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปี 2563 คือความล้มเหลวของรัฐบาลไทยและอาเซียนในการจัดการมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
ข้อมูลจากการวิเคราะห์จุดความร้อน พื้นปลูกข้าวโพด พื้นที่เผาไหม้ และมลพิษ PM2.5 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงระหว่างปี 2562 - 2563 ระบุ PM2.5 ยังคงเป็นวิกฤตมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนที่มีความท้าทายในภูมิภาค
-
ฝุ่นพิษ PM 2.5 เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประชากรราว 160,000 รายใน 5 เมืองใหญ่ของโลกในปี พ.ศ.2563
ผลการศึกษาของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ IQAir จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากป้ายแสดงผลตัวเลขตามเวลาจริง (live Cost Estimator) ออนไลน์ [1][2] พบว่าปี 2563 ฝุ่นพิษ PM 2.5 เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรราว 160,000 รายใน 5 เมืองใหญ่ที่มีประชากรมากที่สุดในโลก
-
กลุ่มสิ่งแวดล้อม 188 องค์กร เรียกร้องให้ยุติผลิตภัณฑ์ที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งในวาระที่สมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ(UNEA) อภิปรายถึงความยั่งยืน
17 กุมภาพันธ์ 2564 – ในขณะที่ผู้แทนรัฐบาลจาก 190 ประเทศเตรียมหารือเรื่อง “การเสริมสร้างปฏิบัติการเพื่อธรรมชาติ” [1] กลุ่มสิ่งแวดล้อม 181 องค์กรทั่วโลกเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงระบบที่สนับสนุนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งซึ่งก่อมลพิษ
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณีคณะรัฐมนตรีที่มีมติเห็นชอบให้แบนพลาสติกใช้แล้วทิ้งอีก 4 ชนิด
กรุงเทพฯ, 17 กุมภาพันธ์ 2564 — ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะพลาสติก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) โดยมี 2 เป้าหมาย ; เป้าหมายที่ 1 ให้ลดและเลิกใช้พลาสติกใช้แล้วทิ้ง 4 ชนิด คือ ถุงพลาสติกหูหิ้ว ความหนาน้อยกว่า 36 ไมครอน กล่องโฟมบรรจุอาหาร (ไม่รวมถึงโฟมที่ใช้กันกระแทกในภาคอุตสาหกรรม) แก้วพลาสติกความหนาน้อยกว่า 100…
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณีประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2563 กำหนดให้โรคหรืออาการท่ีเกิดจากการสัมผัสฝุ่น PM2.5 เป็นโรคจากสิ่งแวดล้อม
ธารา บัวคำศรี ผู้อำนายการกรีนพีซ ประเทศไทยแสดงความคิดเห็นต่อกรณีประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2563 กำหนดให้โรคหรืออาการท่ีเกิดจากการสัมผัสฝุ่น PM2.5 เป็นโรคจากสิ่งแวดล้อม
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณีมาตรการภาษีจูงใจผู้ประกอบการลดขยะพลาสติก
ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกาศว่ากำลังการหารือกับกระทรวงการคลังถึงมาตรการทางภาษี เพื่อส่งเสริมเพิ่มแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หลีกเลี่ยงการก่อขยะพลาสติก