All articles
-
กองทุนแสงอาทิตย์ติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปเพิ่มอีก 3 โรงพยาบาล ในภาคอีสาน ขับเคลื่อนมาตรการ Net Metering
ประชาชนและนักปั่นจักรยานอิสระ ร่วมติดตั้งระบบโซลาร์รูปท็อปที่โรงพยาบาลทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาลภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ และโรงพยาบาลชุมแพ จังหวัดขอนแก่นในช่วงวันที่ 18,19 และ 22 ตุลาคม 2562
-
กรีนพีซร่วมกับ Documentary Club ฉายภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Eating Animals ในวันอาหารโลก
กรุงเทพฯ, 16 ตุลาคม 2562 - เนื่องในวันอาหารโลกหรือ World Food Day กรีนพีซร่วมกับ Documentary Club ฉายภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Eating Animals เปิดเผยเบื้องหลังอุตสาหกรรมปศุสัตว์ ที่มุ่งผลิตเนื้อสัตว์ประเภทต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยไม่คำนึงถึงวิธีการหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น
-
คำแถลงการณ์ของกรีนพีซ สนับสนุนให้รัฐบาลมีมติยกเลิกการใช้สารเคมีอันตรายทางการเกษตร และมีนโยบายระยะยาวส่งเสริมเกษตรที่เปลี่ยนมาวิถีเกษตรอินทรีย์
พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซตเป็นสารเคมีกำจัดวัชพืชที่สามารถตกค้างได้ในสิ่งแวดล้อม อาหาร น้ำดื่ม หรือแม้แต่ในร่างกายของคนและถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกได้ โดยคณะกรรมการวัตถุอันตราย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำเป็นต้องเด็ดขาดในการเลือกตัดสินใจเพื่อปกป้องสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และจะต้องดำเนินการห้ามใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายนี้กับอาหารของประชาชน
-
นายกเทศมนตรี 14 เมืองใหญ่ทั่วโลกมุ่งมั่นที่จะลดการบริโภคเนื้อสัตว์ในเมืองของตน
14 เมืองใหญ่ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นปารีส ลอสแอนเจลิส ลิมา โตเกียว และโซล ได้แสดงความมุ่งมั่นที่จะเป็น “เมืองอาหารดี” (Good Food Cities) โดยการลดการบริโภคเนื้อสัตว์ตามโรงอาหารหน่วยงานของรัฐเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเร่งด่วนเพื่อรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกออกโรงเรียกร้อง ผู้ว่า-เทศมนตรี ลดปริมาณเนื้อในโรงอาหาร
นักวิทยาศาสตร์ 65 คนจาก 11 ประเทศร่วมเรียกร้องให้บรรดาผู้ว่า และนายกเทศมนตรีในเมืองต่างๆ ทั่วโลกลดปริมาณการแจกจำหน่ายอาหารที่นำจากเนื้อสัตว์ตามโรงอาหารของหน่วยงานรัฐ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของแผนการฉุกเฉินในการรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศในขณะนี้
-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
วอชิงตัน ดีซี, สหรัฐอเมริกา, 1 ตุลาคม 2562 – รายงาน “Throwing Away the Future: How Companies Still Have It Wrong on Plastic Pollution “Solutions,” ของกรีนพีซ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเผยแพร่ในวันนี้ กระตุ้นเตือนให้ผู้บริโภคตั้งคำถามต่อวิธีการแก้ปัญหาของบรรดาบริษัทข้ามชาติที่นำมาใช้รับมือวิกฤตมลพิษพลาสติก ซึ่งแนวทางแก้ไขที่ผิดๆ เหล่านี้ เช่น การหันมาใช้กระดาษ…
-
บริษัทปาล์มน้ำมันและเยื่อกระดาษที่มีพื้นที่เผาไหม้มากที่สุดยังคงลอยนวลในขณะที่ไฟป่าในอินโดนีเซียทวีความรุนแรง
ถึงแม้ว่าวิกฤตไฟป่าอินโดนีเซียยังดำเนินอยู่ ยังไม่มีการลงโทษทางแพ่งและทางการปกครองอย่างรุนแรงใด ๆ ต่อบริษัทปาล์มน้ำมันสิบแห่งที่มีพื้นที่ที่ถูกเผาไหม้(burn scar)มากที่สุดระหว่างปีพ.ศ. 2558-2561 ยิ่งไปกว่านั้น รัฐบาลอินโดนีเซียยังไม่ถอนใบอนุญาตผู้ผลิตปาล์มน้ำมันอันเนื่องมาจากการเกิดไฟป่าที่ส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศจากหมอกควันข้ามพรมแดนแม้แต่รายเดียว
-
เหล่าผู้นำไม่มีที่ให้หลบซ่อนแล้ว เรากำลังจับตาดูอยู่
เหล่าเยาวชนคนรุ่นใหม่จะยังคงออกมาเรียกร้องตามท้องถนน ตามโรงเรียนและตามบ้านต่อไปเรื่อย ๆ ขอแจ้งให้ทราบว่าคุณไม่มีทางหลบหลีกที่จะกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศแล้ว เพราะกลุ่มคนธรรมดาแบบพวกเราจะจับตามองคุณ
-
ชุมชนสงขลา และอาสาสมัครกรีนพีซรวมพลังเก็บขยะ ตรวจสอบแบรนด์ขยะพลาสติก ในวันทำความสะอาดชายหาดสากล
เนื่องในวันทำความสะอาดชายหาดสากล หรือ International Coastal Cleanup Day ในวันนี้ กลุ่มสงขลาฟอรั่ม, Beach for Life และอาสาสมัครกรีนพีซ ราว 60 คน ร่วมเก็บขยะชายหาดบริเวณแหลมสนอ่อน จังหวัดสงขลา และตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit)
-
ข้อเสนอของกรีนพีซ กรณี Roadmap การจัดการพลาสติกของประเทศไทย และผลกระทบจากมลพิษพลาสติกต่อสัตว์ป่าและสัตว์ทะเลหายาก
กรุงเทพ, 27 สิงหาคม 2562– จากกรณีการเสียชีวิตของกวางในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตลอดจนสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์รวมถึงพะยูนและเต่าทะเลที่มีสาเหตุหนึ่งจากการกลืนขยะพลาสติกเข้าไปสะสมอยู่ในระบบทางเดินอาหาร[1] ธารา บัวคำศรี ผู้อำนวยการประจำประเทศไทย กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า “ในช่วงเวลาเพียงสองสัปดาห์ ถ้าไม่นับตั้งแต่ช่วงต้นปี 2562 มาจนถึงปัจจุบัน เราสูญเสียสัตว์ทะเลหายากและสัตว์ป่าไปหลายชีวิตจากมลพิษพลาสติก คำถามคือ Roadmap การจัดการพลาสติกของประเทศไทยที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบไปเมื่อเดือนเมษายน 2562 นั้นเพียงพอหรือไม่ที่จะหลีกเลี่ยงมิให้โศกนาฏกรรมดังกล่าวนี้เกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก” “แม้ว่า Roadmap จะระบุถึงสถานการณ์ปัญหาขยะพลาสติกครอบคลุมทั้งภาคการผลิต การบริโภคและหลังการบริโภค รวมถึงได้ระบุความท้าทายของการขาดกลไกทางกฎหมายไม่ว่าจะเป็น 1) กฎหมายให้ผู้ผลิตระบุประเภทพลาสติกที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์ 2)…