โพสต์โดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
ปรัตถกร จองอู : บทสนทนาว่าด้วยความไม่เป็นธรรมทางสัญชาติของคนชาติพันธุ์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ข้อเท็จจริงของปัญหาเรื่องฝุ่นพิษและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นั้นไม่ใช่แค่วิถีการทำเกษตรจากประชาชนกลุ่มเล็ก ๆ บนพื้นที่ภูเขา แต่เงื่อนไขที่ผลักดันให้คนบนดอยต้องพึ่งพารายได้จากการปลูกข้าวโพดนั้นเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างทางสังคมที่เรื้อรังมายาวนานและตอกย้ำความไม่เป็นธรรมทางสิทธิมนุษยชน
-
นิทรรศการHazilla ปีศาจฝุ่นร้ายข้ามพรมแดนจากการลงทุนข้ามแดน
ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนดูจะเป็นสิ่งที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องเผชิญร่วมกัน มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ประสบฝุ่นพิษข้ามแดน
-
กฎหมายที่ขาดหายไปใต้ฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
กว่า 15 ปีที่ประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนต้องทนกับฝุ่นพิษที่ปกคลุมทั่วภูมิภาคเป็นเวลาหลายเดือนทุกช่วงต้นปี จนเกิดทัศนคติหลากหลายวาทกรรมที่สร้างให้คนบนดอยและเกษตรกรเป็นจำเลยผู้ก่อมลพิษของสังคม
-
ไข่ครึ่งซีก ความจนในระบบอาหารตามนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
เรื่องราวของไข่ครึ่งซีกที่ต้องแบ่งกันกินในบ้านของข้าวปุ้นจากเนื้อหาของแบบเรียนภาษาไทยชั้นป.5 นอกจากรัฐจะทำให้ความจนเป็นความโรแมนติกแล้ว อีกมุมมองหนึ่ง หากมองเรื่องความยากจนและการขาดแคลนอาหารในกรณีนี้สามารถสะท้อนถึงปัญหาการผูกขาดของการผลิตอาหารภายใต้ระบบอาหารเชิงอุตสาหกรรม ที่รัฐยังไม่เคยลงมือแก้ปัญหาแต่กลับยิ่งซ้ำเติมความเหลื่อมล้ำนี้
-
Carbon Foodprint มองอาหารผ่านการผลิตและการกินของ รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล
ภาคเหนือตอบนของไทยเป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่ออุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นระยะเวลาเกือบสองทศวรรษ ทั้งมลพิษข้ามพรมแดนที่คุกคามสุขภาพ และป่าไม้ที่สูญเสียไปเพื่อเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งการผลิตเนื้อสัตว์ของไทยนั้นนอกจากเลี้ยงคนในประเทศแล้ว ยังมีสัดส่วนในการส่งออกผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ไปยังตลาดโลกเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สถานการณ์เหล่านี้ทำให้ความหมายของการกินและการผลิตของไทยเป็นอย่างไร เราได้ชวน รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล มาพูดคุยถึงอาหาร ที่มากกว่าความอิ่ม แต่หมายถึงคาร์บอนฟุตปรินท์ สัตว์ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ
-
ชนพื้นเมือง ไร่หมุนเวียน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: คุยกับจำเลยการเผา พฤ โอโดเชา
ชนพื้นเมืองชาติพันธุ์มักถูกวางไว้ในบริบทจำเลยของสังคมในประเด็นปัญหาการเผาและการทำลายป่า เช่น การตีตรา “ชาวเขาเผาป่า” เพื่อทำไร่เลื่อนลอยว่าเป็นสาเหตุสำคัญของมลพิษทางอากาศและป่าไม้ที่หายไปของภาคเหนือ ทว่าคำกล่าวนี้มีข้อเท็จจริงเช่นไร หรือเป็นเพียงอคติของสังคมต่อคนชายขอบที่มีความเป็นอื่นอย่างกลุ่มชนพื้นเมืองชาติพันธุ์
-
2565 อาหารแพง ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพที่ถูกคุกคาม
ในปี 2565 ดูเหมือนว่าสถานการณ์ในระบบอาหารปีนี้จะยังมีหลายสัญญาณที่น่ากังวลและการเปลี่ยนแปลงที่น่าจับตามอง สิ่งที่เราต้องคิดหลังจากนี้คือเราจะเลือกเรียนรู้สิ่งเหล่านี้และกำหนดทิศทางระบบอาหารของโลกอย่างไรในปีหน้าและปีต่อ ๆ ไป
-
คนบนดอย ฝุ่นควัน คนเมือง: คุยกับดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ ผู้เป็นปากเสียงให้กับชนพื้นเมือง
คนบนดอยเผาป่าเผาไร่ คนเมืองจึงเดือดร้อน คำกล่าวเช่นนี้มักเกิดขึ้นเสมอในช่วงฤดูกาลที่หมอกควันปกคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ทว่าแนวคิดนี้มีข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร
-
เงียบซะ ราเชล คาร์สัน! เพราะเธอเป็นแค่ผู้หญิง
หนังสือ Silent Spring ของ ราเชล คาร์สัน กลายเป็นหนึ่งในหนังสือสำคัญที่สร้างประวัติศาสตร์ในการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ปัญหาสำคัญที่เธอได้เปิดโปงในหนังสือคือ ความอันตรายร้ายแรงของสารดีดีที
-
ทำไมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า ชวนตั้งคำถามกับ วิทยา ครองทรัพย์ สภาลมหายใจภาคเหนือ
ตั้งแต่ปี 2550 กรรมการหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ทุกชุด ได้พยายามแก้ไขปัญหาฝุ่นควันของจังหวัดทุกปี ให้การสนับสนุนด้านปัจจัยเงินให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ช่วยระดมทุนบริจาค แต่ในช่วงหลังมีแต่ปัญหาซ้ำ ๆ “การช่วยเหลือของเราแทบจะไม่เกิดประโยชน์ รัฐมองภัยที่เกิดขึ้นเป็นเหมือนไฟไหม้ข้างบ้าน แค่มาช่วยดับ”