All articles by ธารา บัวคำศรี
-
17 ปี เจริญ วัดอักษร : อนาคตที่เราต้องการ
บทสนทนาสั้น ๆ กับกรณ์อุมา พงษ์น้อย และชัยณรงค์ วงศ์ศศิธร-กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอก และสุรีรัตน์ แต้ชูตระกูล-กลุ่มอนุรักษ์ทับสะแก สะท้อนถึง 17 ปีที่ผ่านมาและอนาคตต่อจากนี้
-
กระเทาะเปลือก #CPTPP : วิเคราะห์ข้อบทด้านสิ่งแวดล้อมของความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
แม้รัฐบาลมีบทบาทในการกำกับดูแลการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติของภาคเอกชนในระดับประเทศ แต่ที่ผ่านมา กฎหมายระหว่างประเทศก็มีอิทธิพลต่อการดำรงไว้ซึ่งแนวทางเสรีนิยมใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์เพื่อครอบครองและแสวงประโยขน์จากทรัพยากร
-
กระแส #NoCPTPP และจุดยืนของกรีนพีซว่าด้วยข้อตกลงทางการค้า
เพื่อให้ได้มาซึ่ง “ระบบการค้าที่เป็นธรรม เท่าเทียมและโปร่งใส” โลกาภิวัตน์จะต้องอยู่ภายใต้กรอบกติกา โดยกรอบกติกาดังกล่าวนี้ต้องเคารพในคุณค่าของชาติและวัฒนธรรม เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และดำเนินการตามเป้าหมายของความตกลงด้านพหุภาคีของสหประชาชาติอย่างสัมฤทธิผล
-
ถึงเวลาฟื้นฟูโลก เกิดอะไรขึ้นบ้างกับสิ่งแวดล้อมในช่วงไวรัสโควิดระบาด
ผลกระทบเชิงรูปธรรมของ COVID-19 ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงระบบอาหารและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ยังมีอยู่อย่างจำกัด ด้วยธีมของวันคุ้มครองโลกปี 2564 นี้คือ “ฟื้นฟูโลก(Restore Our Earth™)” เราขอยกประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน และปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณีประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2563 กำหนดให้โรคหรืออาการท่ีเกิดจากการสัมผัสฝุ่น PM2.5 เป็นโรคจากสิ่งแวดล้อม
ธารา บัวคำศรี ผู้อำนายการกรีนพีซ ประเทศไทยแสดงความคิดเห็นต่อกรณีประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2563 กำหนดให้โรคหรืออาการท่ีเกิดจากการสัมผัสฝุ่น PM2.5 เป็นโรคจากสิ่งแวดล้อม
-
วิเคราะห์สถานการณ์สิ่งแวดล้อมปี 2563 สู่การฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและเป็นธรรมหลังโควิด-19
ปี 2563 เป็นปีหลากวิกฤต ทั้งโรคระบาด ความปั่นป่วนทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และผลกระทบต่อเนื่องทบทวีคูณของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ที่มาบรรจบกัน
-
อุบัติภัยอุตสาหกรรมในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก : สิทธิการรับรู้และความจำเป็นของกฎหมาย PRTR ในประเทศไทย
สังคมไทยเดินทางผ่านวิกฤตการพัฒนาอุตสาหกรรมมาหลายทศวรรษแล้ว ทำเนียบการปลดปล่อยและการเคลื่อนย้ายมลพิษควรต้องทำให้ครอบคลุมทั้งประเทศ และเป็นกฎหมายที่มีผลบังคับใช้ เพื่อสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนเป็นธรรม และการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ได้รับผลกระทบจากมลพิษอุตสาหกรรม
-
ความท้าทายและวิกฤตมลพิษพลาสติกของประเทศไทย
แม้จะกล่าวกันว่า พลาสติกไม่ใช่ผู้ร้าย แต่เราต้องไม่ลืมว่า ขยะพลาสติกคือปัญหามลพิษ(plastic pollution) ไม่ใช่ปัญหาขยะ
-
ตรวจสอบนโยบายรัฐบาลในฤดูฝุ่นพิษ PM2.5 ที่จะมาถึง
นับตั้งแต่แถลงการณ์ #พอกันทีขออากาศดีคืนมา ที่เป็นข้อเสนอยื่นต่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาในวันที่ 23 มกราคม 2563 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันซึ่งวิกฤตฝุ่น PM2.5 กำลังมาเยือนอีกครั้ง เรามาดูกันว่ามาตรการและนโยบายรัฐในเรื่องนี้ไปถึงไหนอย่างไร ต่อไปนี้คือการวิเคราะห์ของเรา
-
จะสูญสิ้นหรือฟื้นคืน : ความหลากหลายทางชีวภาพหลังวิกฤต Covid-19
เมื่อโลกทั้งโลกสั่นสะเทือนจากโรคระบาดขนาดใหญ่ที่ส่งผลกระทบกับคนนับล้านอย่าง Covid-19 เราทุกคนต่างกังวลกับสุขภาพของตนเอง คนที่เรารัก รวมถึงคนที่เปราะบางที่สุดในสังคม ในเพียงเวลาไม่กี่สัปดาห์ Covid-19 กลายเป็นวาระเร่งด่วนมากที่สุด มากกว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศหรือภัยคุกคามจากการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ หายนะภัยที่ครอบงำความสนใจของคนทั้งโลกก่อนหน้านี้ เช่น ไฟป่ามหากาฬในออสเตรเลีย หรือของสังคมไทยกรณีไฟป่าอนุรักษ์ เป็นต้น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่จริงจังน้อยกว่าการระบาดของ Covid-19 ที่เรามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย