All articles
-
ไทยอนุมัติลงนามปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพในสนธิสัญญาทะเลหลวง นับเป็นก้าวสำคัญในการปกป้องมหาสมุทรโลก
กรีนพีซ ประเทศไทยขอแสดงความยินดีที่รัฐบาลไทยมีมติอนุมัติการลงนามความตกลงภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลเกี่ยวกับการอนุรักษ์และการใช้อย่างยั่งยืนซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลในพื้นที่นอกเขตอำนาจรัฐ
-
พูดคุยกับ วรรณิศา จันทร์หอม กลุ่มจะนะรักษ์ถิ่น และการใช้ศิลปะ เกียวทาคุสื่อสารเรื่องราวของชุมชน
“เราไม่ได้มองแค่รายได้ เพราะจริง ๆ การได้สื่อสารเรื่องราวของชุมชนมันมากกว่ารายได้”
-
รายงานประจำปี 2566
ในปี 2566 การผลักดันประเด็นสิ่งแวดล้อมในทั่วภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้แสดงให้เห็นถึงพลังการเปลี่ยนแปลงของความหวังและการร่วมมือกัน จนเกิดเป็นชัยชนะที่สําคัญขึ้น ทั่วภูมิภาค แม้อยู่ท่ามกลางความท้าทายมากมาย
-
อุณหภูมิมหาสมุทรออสเตรเลียร้อนขึ้นเป็นประวัติการณ์ เกิดอะไรขึ้นเมื่อมหาสมุทรกลายเป็นหม้อต้มน้ำเดือด
ล่าสุด อุณหภูมิมหาสมุทรออสเตรเลียสูงขึ้นจนอยู่ในภาวะฉุกเฉิน โดยปีที่ผ่านมา (2567) อุณหภูมิผิวน้ำของทะเลสูงจนทำลายสถิติที่เคยบันทึกได้ ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดสำหรับมหาสมุทรออสเตรเลีย ซึ่งสถิติดังกล่าวไม่ได้เป็นเพียงตัวเลขชี้วัด แต่บ่งบอกถึงวิกฤตที่เป็นคลื่นใต้น้ำ คุกคามชีวิตของสัตว์ทะเล แนวปะการัง และวิถีชีวิตชุมชนชายฝั่งซึ่งพึ่งพาทะเลอันอุดมสมบูรณ์
-
พูดคุยกับสมเกียรติ มีธรรมว่าเพราะเหตุใดระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ถึงเกิดขึ้นอย่างโปร่งใสทั้งระบบได้ยาก
กรีนพีซพูดคุยกับ คุณสมเกียรติ มีธรรม ผู้อำนวยการสถาบันอ้อผญา(องค์กรสาธารณประโยชน์) และอดีตผู้ประสานงานแม่แจ่มโมเดลพลัส อีกครั้ง ถึงข้อเท็จจริงของสถานการณ์ในพื้นที่ไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภาคเหนือตอนบน ตลอดจนรายละเอียดของกระบวนกวนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-
การติดตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ร่องรอยพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อน จากภาพดาวเทียม ปีพ.ศ. 2567 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขง (ตอนบนของประเทศไทย, ตอนบนของ สปป.ลาว และรัฐฉานของเมียนมา)
ไม่นานมานี้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขงได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ.2558 และ พ.ศ.2562 และได้มีการสันนิษฐานถึงสาเหตุของปัญหาที่ทําให้ระดับความรุนแรงของปัญหาดังกล่าวมีระดับความรุนแรงขึ้น คือ การปลูกข้าวโพดภายใต้ระบบเกษตรพันธะสัญญาทั้งประเทศไทย เมียนมา และ สปป.ลาว ซึ่งทําให้เกิดปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดนยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น
-
กรีนพีซกังวล ‘อันตรายจากสารพิษหลายชนิด’ จากเหตุเรือชนกันในทะเลเหนือ
กรีนพีซแสดงความกังวลเกี่ยวกับภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล อันเนื่องมาจากสินค้าและน้ำมันเตา (Bunker fuel) ของเรือบรรทุกสารเคมีและเรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์เกิดอุบัติเหตุชนกันนอกชายฝั่งยอร์กเชียร์ (Yorkshire) ของอังกฤษ ใกล้กับพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมสูง
-
เครือข่ายประชาชนไม่เอากฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ยื่นหนังสือคัดค้าน “กฎหมายพิเศษ เพื่อคนพิเศษ”
เครือข่ายประชาชนไม่เอากฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในฐานะพื้นที่กลางขององค์กรชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด และองค์กรเครือข่ายภาคีระหว่างภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 94 องค์กร ยื่นหนังสือคัดค้านการร่างพระราชบัญญัติระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC)
-
แถลงการณ์กรีนพีซ : ครบรอบ 14 ปี อุบัติภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
ครบรอบ 14 ปี หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์อุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ตามมา กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ประสบภัยและครอบครัวที่ยังคงต้องทนทุกข์หลังเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งใหญ่นี้
-
“Land bridge Effect ผลกระทบโครงการท่าเรือน้ำลึกแลนด์บริดจ์ชุมพร ระนอง” เปิดข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภัยคุกคามต่อชุมชนชายฝั่ง
ชุดข้อมูลนี้เป็นชุดข้อมูลที่นักวิชาการร่วมทำงานเก็บข้อมูลกับชุมชนเพื่อแสดงให้เห็นถึงข้อห่วงกังวลต่อผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชนที่อาจเกิดขึ้นหากเกิดโครงการท่าเรือน้ำลึก Land Bridgeใน จ.ชุมพรและ จ.ระนอง