All articles
-
คำแถลงของกรีนพีซ ประเทศไทย ว่าด้วยประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน
เราเชื่อว่า ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” เรายึดถือในหลักการประชาธิปไตยที่ดี (Healthy Democracy) ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการรับรองสิทธิทางสิ่งแวดล้อมและสิทธิทางการเมืองของประชาชน
-
เพชร มโนปวิตร: อ่านสัญญาณเตือนจากมหาสมุทร ความเป็นความตายที่ถูกมองว่าไกลตัว
“เรากำลังอยู่ในยุคที่ชดใช้กรรม” กรรมจากการพัฒนาที่ทำลายธรรมชาติมากเกินไป มหาสมุทรกำลังส่งสัญญาณว่า มันรับผลจากกิจกรรมของมนุษย์ไม่ไหวแล้ว ถ้าวันนี้ไม่ทำอะไร วิกฤตสภาพภูมิอากาศอาจร้ายแรงจนทำลายแหล่งผลิตอาหาร แหล่งที่อยู่อาศัย เกิดสงครามแย่งชิงทรัพยากร เกิดการอพยพครั้งใหญ่เพื่อความอยู่รอด และเราได้เห็นจากวิกฤตโควิด-19 แล้วว่าเวลาเกิดวิกฤตแบบนี้คนจนตายก่อนและจะเจ็บปวดที่สุด
-
เมื่อ CPTPP จะทำให้ความหมายของเมล็ดพันธุ์เปลี่ยนไป
ทำไมถึงต้องกังวล หากเมล็ดพันธุ์จะถูกจดสิทธิบัตรและถูกครอบครองโดยบริษัท?
-
เราจำเป็นต้องปกป้องทุกชีวิตบนโลก : ทางออกเพื่อต่อกรกับวิกฤตความหลากหลายทางชีวภาพ
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) เป็นหนึ่งในตัวแปรหลักที่จะเพิ่มความเสี่ยงของโรคระบาดในอนาคต ขณะเดียวกันก็มีปัจจัยต่างๆ อีกมากที่มีส่วนสำคัญซึ่งส่งผลต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
-
โลกของโรค ตอนที่ 3 เมื่ออาหารคือทั้งปัญหาและทางออก
อยากจะขอปรับคำกล่าวที่ว่า “You are what you eat.” สักหน่อยเป็น “The world is what you eat.” เพราะสิ่งที่เราเลือกกินนั้นไม่ได้เพียงแค่ส่งผลกระทบต่อรอบเอวหรือสุขภาพของเรา แต่ยังส่งผลกระทบถึงสิ่งแวดล้อมของโลก สังคม เศรษฐกิจ รวมถึงวิถีชีวิตของคนที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานการผลิตด้วย
-
อธิปไตยทางอาหารในปัจจุบันและหลังการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้ชีวิตประจำวันของผู้คนเปลี่ยนไปในเกือบทั่วทุกมุมโลก แต่สำหรับคนอีกหลายล้านคน ความน่ากลัวเรื่องการขาดแคลนอาหาร และการเข้าถึงอาหารนั้นยิ่งทำให้สถานการณ์เลวร้ายมากขึ้น ล่าสุดทางองค์การสหประชาชาติได้ได้ประกาศเตือนเรื่อง ภาวะสินค้าอาหารขาดตลาด และการสูญเสียรายได้และการดำรงชีวิตในอนาคต ลูกจ้างมากกว่า 1.6 พันล้านคนได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจ
-
ชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมโลก ศาลตัดสินให้การปกป้องสิ่งแวดล้อมสำคัญกว่าผลประโยชน์ทางธุรกิจ
ข่าวดีสำหรับชนพื้นเมืองในนิวซีแลนด์ “ชาวกีวี” ซึ่งคัดค้านการทำเหมืองใต้ทะเล (KASM) และกรีนพีซ เมื่อศาลอุทธรณ์นิวซีแลนด์ยืนยันคำตัดสินไม่ต่อใบอนุญาตให้บริษัททรานส์-ทัสมัน รีซอร์เซส (TTR) เพื่อทำเหมืองในทางตอนใต้ของอ่าวทารานากิไบรท์
-
วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ กับเส้นทางอาหารที่อาจเปลี่ยนไปหากไทยเข้าร่วม CPTPP
CPTPP ในชื่อภาษาไทยคือ “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership” ฟังเผิน ๆ แล้วอาจดูไกลตัว แต่จริงๆแล้วหากไทยเข้าร่วมความตกลงนี้ เส้นทางอาหาร 1 จานบนโต๊ะของเราอาจเปลี่ยนแปลงไปตลอดกาล
-
โลกของโรค ตอนที่ 2 หมูเห็ดเป็ดไก่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมเกษตร และโรคระบาด
อาจจะเป็นเรื่องเหลือเชื่อที่มนุษย์อย่างเรามีความสัมพันธ์อย่างตัดไม่ขาดกับธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน
-
การปกป้องสิ่งแวดล้อมคือการปกป้องชีวิตของพวกเรา
สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่าทำให้เกิดรูปแบบการใช้ชีวิตแบบใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เช่น คนต่อแถวยาว เว้นระยะห่างเพื่อซื้ออาหาร การใช้ช่องทางออนไลน์เพื่อติดต่อสื่อสารมากขึ้น (ทำให้ผู้สูงอายุก็ต้องหัดใช้เทคโนโลยีมากขึ้นด้วย) หรือกระทั่งการช่วยเหลือกัน แบ่งปันกันในสังคม สิ่งเหล่านี้คือความพยายามทำให้สังคมของเรากลับมาแข็งแกร่งขึ้นอีกครั้งหลังวิกฤตของโรคระบาด