All articles
-
ข้อเสนอภาคประชาชน ต่อการจัดทำร่างกฎหมายพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ….. (โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
ตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 77 กำหนดให้ก่อนการตรากฎหมาย ทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องและวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้น ต่อประชาชน ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2560 ได้กำหนดแนวทางให้หน่วยงานรัฐดำเนินการตราร่างพระราชบัญญัติตามหลักการที่รัฐธรรมนูญกำหนด โดยมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำของการรับฟังความคิดเห็นไว้ว่า ให้หน่วยงานรัฐเปิดรับฟังความคิดเห็นผ่านทางเว็บไซต์อย่างน้อย 15 วัน ผลปรากฏว่าหน่วยรัฐจำนวนมากเร่งดำเนินการนำร่างกฎหมายเปิดรับฟังความคิดเห็นด้วยหลักเกณฑ์ขั้นต่ำดังกล่าว โดยไม่สนใจว่าจะเป็นกระบวนการรับฟังความคิดเห็นอย่างแท้จริงหรือไม่
-
กู้โลก !? คนขี้เกียจก็ทำได้
ทุกการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะระดับเล็ก หรือระดับโลกต่างเริ่มต้นที่คนตัวเล็ก ๆ อย่างไร ดังนั้นทุกครั้งที่เราลงมือทำอะไรจะเป็นการสร้างการเปลี่ยนแปลง และขยายผลกระทบไปในวงกว้างได้
-
5 เคล็ดลับสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อให้การเดินทางดีต่อใจและดีต่อโลกด้วยเช่นกัน
เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่อยากให้วันหยุดมาถึงเร็ว ๆ เพื่อที่จะได้ออกไปเที่ยว และคงมีคนจำนวนไม่น้อยเช่นกันที่กำลังเก็บเงินและวันลาเพื่อให้สามารถเดินทางไปยังจุดหมายในฝัน แต่คุณรู้หรือไม่ว่าการเดินทางนั้นเป็นได้มากกว่าการไปให้ถึงที่หมายเพราะมันยังสามารถนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนให้กับโลกของเราได้
-
โลกเราจะเป็นอย่างไร ถ้าไม่มีผึ้ง?
ผมไม่สามารถจินตนาการได้เลยว่าโลกจะเป็นอย่างไรถ้าไม่มีสัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่น ผึ้ง
-
10 ภาพ ก่อนและหลัง การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์
บ่อยครั้งที่การเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ นั้นยากที่จะมองเห็น แม้ว่าเรากำลังเปลี่ยนแปลงโลกอย่างใหญ่หลวง ไม่ว่าจะเป็นการตัดไม้ทำลายป่า การทำอุตสาหกรรม การขุดเจาะและใช้งานเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่ก็ยังยากที่เราจะเห็นว่ารอยแผลเป็นที่เราทิ้งไว้ให้โลกใบนี้นั้นใหญ่ขนาดไหน
-
ทำไมเกรตแบร์ริเออร์รีฟถึงกำลังวิกฤต
เกรตแบร์ริเออร์รีฟ (The Great Barrier Reef) ซึ่งเป็นแนวปะการังที่ใหญ่ที่สุดในโลกกำลังเสื่อมโทรมลงอย่างน่าตกใจ ในเวลา 30 ปีที่ผ่านมา เราสูญเสียปะการังไปกว่าครึ่ง
-
ความรุนแรงของภาวะโลกร้อนที่พบได้จากปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฎการณ์เอลนีโญในปีที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดพายุเฮอริเคนแพทริเซียที่ใหญ่ที่สุดซึ่งทำลายสถิติที่เคยบันทึกไว้ พายุลูกดังกล่าวอาจสร้างความเสียหายต่อป่าพรุและทำให้เกิดไฟป่าที่เลวร้ายที่สุดอย่างกระทันหันในอินโดนีเซียซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจเป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น
-
Right to Clean Air หยุดหมอกควันพิษ
มลพิษทางอากาศในประเทศไทยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ มลพิษทางอากาศและฝุ่นละอองในบรรยากาศมีผลกระทบทางสุขภาพในหลายด้าน โดยเป็นปัจจัยรวมอันก่อให้เกิดโรคต่างๆ ได้แก่ กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคเรื้อรังของทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจส่วนล่าง และโรคมะเร็งปอด โดยก่อให้เกิดการตายก่อนวัยอันควรในประเทศไทย ประมาณ 50,000 คนต่อปี(1) ดังนั้น มลพิษทางอากาศจึงเป็นปัญหาที่ควรได้รับความสําคัญด้านนโยบาย ในหลายพื้นที่ของประเทศที่เรียกว่าเป็น “พื้นที่วิกฤตคุณภาพอากาศ” ยังคงมีสารมลพิษทางอากาศเกินค่ามาตรฐาน
-
การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่
ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ
-
จุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้
โลกของเรากำลังอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้แล้ว เราต้องเลือกระหว่างการนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนถ่านหิน น้ำมันและก๊าซ หรือเลือกที่จะเผชิญหน้ากับอนาคตที่มีหายนะจากภาวะโลกร้อนรออยู่