All articles
-
ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากต้องลงมือทำ เนื่องจากปี 2567 กำลังทำสถิติความร้อนสูงสุดประจำปีใหม่
เราอยู่ในจุดที่ต้องตัดสินใจ และผู้ก่อโลกเดือดจะไม่สามารถหลบหนีความรับผิดชอบได้! ข่าวที่ว่าในช่วงปี 2558-2567 จะเป็นทศวรรษที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ต้องกระตุ้นให้เกิดการลงมือทำ เพราะความเสียหายที่เกิดจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศซึ่งขับเคลื่อนด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิลได้สร้างความหายนะให้กับชุมชนทั่วโลก
-
เจ้าภาพ COP29 ควรมุ่งเน้นไปที่การยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ไม่ใช่ข้อตกลงลับในการขยายอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล
จากรายงานที่แสดงให้เห็นว่า ประธานการประชุม COP29 นายเอลนูร์ ซอลตานอฟ ถูกถ่ายวิดีโอขณะพูดคุยถึง “โอกาสการลงทุน” ในบริษัทน้ำมันและก๊าซแห่งรัฐของอาเซอร์ไบจาน (Socar) แจสเปอร์ อินเวนเตอร์ หัวหน้าคณะผู้แทนกรีนพีซสากล กล่าวว่า:
-
ถึงเวลาที่เจ้าภาพ COP28 ต้องสานต่อฉันทามติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) และยุติการขยายเชื้อเพลิงฟอสซิล
ก่อนเริ่มการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 29 (COP29) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) เจ้าภาพ COP28 เมื่อปี 2566 ที่ผ่านมา ได้เผยแพร่แผนการดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศ(เป้าหมายปี 2578)
-
ทันโลก ทันสถานการณ์ระบบพลังงานหมุนเวียนที่สะอาดและเป็นธรรม : 4 ประเทศที่มีแนวทางสนับสนุนพลังงานหมุนเวียนที่ทำได้จริง
เมื่อนานาประเทศทั่วโลกจากยุโรปและเอเชียล้วนมีคำมั่นสัญญาในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามกรอบการเจรจาและข้อตกลงในเวทีโลกอย่างเวที COP26 ทำให้การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีอยู่ด้วยกัน 2 แนวทางหลักๆ ได้แก่ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) โดยปัจจุบัน โลกมุ่งเน้นการดำเนินนโยบายตามแนวทาง Mitigation เป็นหลัก โดยใช้กลไกของการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งดูเหมือนจะเป็นอีกหนึ่งคำตอบที่สามารถทำให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์ในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างมีประสิทธิภาาพในระยะเวลาอันสั้นนี้ เนื่องจากเป็นที่ทราบกันดีว่าภาคการผลิตพลังงานที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศในปริมาณความเข้มข้นสูงกว่าภาคอื่นๆ
-
แม่ทะบ้านฉัน ชีวิตดีๆ ที่จะลงตัวอยู่แล้วถ้าไม่มีโครงการเหมืองถ่านหิน
“วิถีชีวิตของเราก็จะเปลี่ยนไป จากที่เราเคยหาของป่า ทำไร่ ปลูกข้าว เคยจับกุ้ง หอย ปู ปลา ถ้ามีโครงการเหมืองเข้ามา วิถีชีวิตตรงนี้มันก็จะเปลี่ยนไป หรือแม้แต่ความสัมพันธ์ของคนเองก็อาจจะเปลี่ยน”
-
ยุติภาวะโลกเดือดที่ต้นเหตุ: นโยบายรัฐไทยต้องเลิกเอื้อฟอกเขียวนายทุน ยกประชาชนเป็นที่ตั้งรับมือวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
การเอื้อประโยชน์ให้กับบรรษัทยักษ์ใหญ่ทำให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางต้องเผชิญกับสารพัดวิกฤต (poly crisis) ทั้งผลกระทบจากหายนะจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งพวกเขาไม่ได้มีส่วนก่อขึ้น ผลกระทบเหล่านี้ซ้ำเติมให้ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความยากจนที่มีอยู่เดิมทวีความรุนแรงขึ้นไปอีก
-
เปิด 6 เหตุผล ที่คดีฟ้องร้องของเอเนอร์จีทรานสเฟอร์ต่อกรีนพีซถึงไร้เหตุผลอย่างยิ่ง
บริษัทเอเนอร์จีทรานสเฟอร์ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการท่อส่งน้ำมัน “ดาโคตาแอคเซสไปป์ไลน์”ได้ฟ้องร้องกรีนพีซ เป็นเงินจำนวน300 ล้านเหรียญสหรัฐ กรีนพีซเชื่อว่าการฟ้องร้องครั้งนี้นี้เป็นการฟ้องเพื่อปิดปาก
-
Open Letter to Simon Emmanuel Kervin Stiell, UNFCCC Executive Secretary
The climate crisis and global boiling are exploitative legacies of over a century of colonialism and the Industrial Revolution, where wealthy nations and corporate elites relentlessly extracted fossil fuels—coal, oil, and gas—to capture economic and political power, fueling deep social inequality and ecological devastation.
-
กรีนพีซร่วมกับเครือข่ายชุมชนเรียกร้องรัฐบาลแพทองธารหยุดฟอกเขียวให้กับยักษ์ใหญ่คาร์บอน
เครือข่ายประชาชนเสริมสร้างความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและหยุดคาร์บอนเครดิตยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการบริหารกรอบอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC Executive Secretary) ระบุ การเงินด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Finance) ต้องยึดหลักความรับผิดชอบทางประวัติศาสตร์ในการก่อโลกเดือดของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมร่ำรวย