All articles
-
Fast Fashion อุตสาหกรรมตัวร้าย : แฟชั่นติดไซเรน
ไม่ว่าจะเป็นวัยรุ่นหรือวัยทำงานต่างก็ชอบแต่งตัว มีความสุขกับการชอปปิงเลือกเสื้อผ้า เมื่อเราไปเดินเที่ยวตามที่ต่าง ๆ ก็จะพบเจอแต่คนหนุ่มสาวที่แต่งตัวดี ดูมีสไตล์ ตามแฟชั่น แต่รู้ไหมคะว่าเสื้อผ้าเหล่านั้นที่คุณสวมใส่ เป็นอีกหนึ่งต้นตอของการทำลายสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเสื้อผ้า Fast Fashion
-
การกินเนื้อสัตว์ของเรา ทำให้โลกร้อนได้อย่างไร?
ทุกวันนี้มนุษย์เรามีการผลิตเนื้อสัตว์มากกว่าเมื่อ 50 ปีก่อนประมาณ 6 เท่าตัว [1] ซึ่งถามว่าโลกเราก็พื้นที่เท่าเดิม เราผลิตเนื้อสัตว์มากขนาดนี้ได้ยังไง คำตอบง่าย ๆ ก็คือก็เพราะเราถางป่าเพื่อจะสร้างพื้นที่ในการเลี้ยงสัตว์และสร้างพื้นที่ในการปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว์มากขึ้น ซึ่งการใช้ผืนป่าปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารสัตว์นี่แหละคือภัยเงียบที่เรามักจะมองไม่เห็น
-
จากผ้าแคนวาสที่เคยเป็นป้ายผ้าเก่าสู่กระเป๋าใบเล็กติดซิปเย็บมือ ความภูมิใจ DIY โดยใช้ของแค่ 4 อย่าง
การหลงไหลในงานคราฟต์ทำมือ เริ่มต้นด้วยการอยากมีของแบบนู้นแบบนี้ บางที เราก็คุ้นชินกับการ DIY มาตั้งแต่ไหนแต่ไร ตั้งแต่เจาะกระป๋องแป้ง มาทำเป็นกระปุกออมสิน เอากางเกงขายาวมาตัดเป็นขาสั้น ปะ ชุน เป้ากางเกงที่ขาดรุ่ย เพื่อต่ออายุให้มันไปได้อีกสักระยะ เหล่านี้ล้วนคือการ DIY (Do it yourself) โดยที่เราอาจจะไม่ทันได้สังเกต เขาว่าการทำงานคราฟต์อาศัยของไม่กี่อย่างก็ได้ของสุดภูมิใจมาไว้ในมือ ของไม่กี่อย่างก็ประกอบได้ด้วย 1. ความตั้งใจ 2. ความชอบ 3. ความคิดสร้างสรรค์ และ 4. เวลา…
-
กรีนพีซร่วมกับ Documentary Club ฉายภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Eating Animals ในวันอาหารโลก
กรุงเทพฯ, 16 ตุลาคม 2562 - เนื่องในวันอาหารโลกหรือ World Food Day กรีนพีซร่วมกับ Documentary Club ฉายภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Eating Animals เปิดเผยเบื้องหลังอุตสาหกรรมปศุสัตว์ ที่มุ่งผลิตเนื้อสัตว์ประเภทต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยไม่คำนึงถึงวิธีการหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น
-
ชีวิตของผมในเมืองแห่งหมอกควัน ที่ อินโดนีเซีย
คุณภาพอากาศที่เราหายใจอยู่ในระดับที่เลวร้าย และเราต้องสูดอากาศที่เต็มไปด้วยสารพิษจากควันไฟป่านี้ทุกวัน ดัชนีคุณภาพอากาศ (the air quality index (AQI)) พุ่งสูงจากระดับที่ปลอดภัยไปแตะที่ตัวเลข 300 ซึ่งสถิติตัวเลขที่สูงที่สุดที่วัดได้นั้นสูงถึง 2,000
-
คำแถลงการณ์ของกรีนพีซ สนับสนุนให้รัฐบาลมีมติยกเลิกการใช้สารเคมีอันตรายทางการเกษตร และมีนโยบายระยะยาวส่งเสริมเกษตรที่เปลี่ยนมาวิถีเกษตรอินทรีย์
พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซตเป็นสารเคมีกำจัดวัชพืชที่สามารถตกค้างได้ในสิ่งแวดล้อม อาหาร น้ำดื่ม หรือแม้แต่ในร่างกายของคนและถ่ายทอดจากแม่สู่ลูกได้ โดยคณะกรรมการวัตถุอันตราย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำเป็นต้องเด็ดขาดในการเลือกตัดสินใจเพื่อปกป้องสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และจะต้องดำเนินการห้ามใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายนี้กับอาหารของประชาชน
-
นายกเทศมนตรี 14 เมืองใหญ่ทั่วโลกมุ่งมั่นที่จะลดการบริโภคเนื้อสัตว์ในเมืองของตน
14 เมืองใหญ่ทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นปารีส ลอสแอนเจลิส ลิมา โตเกียว และโซล ได้แสดงความมุ่งมั่นที่จะเป็น “เมืองอาหารดี” (Good Food Cities) โดยการลดการบริโภคเนื้อสัตว์ตามโรงอาหารหน่วยงานของรัฐเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเร่งด่วนเพื่อรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
การวิเคราะห์ของกรีนพีซ แหล่งกําเนิดของไนโตรเจนไดออกไซด์ในประเทศไทยจากข้อมูลดาวเทียม
ไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน(NOx)1 สารมลพิษทางอากาศที่เป็นอันตราย ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคทางเดินหายใจและความเสียหายต่อปอดหากรับเข้าไปแบบเฉียบพลันและเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคเรื้อรังหากรับเข้าไปในระยะยาว
-
จับตาแหล่งกำเนิดไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) คู่หู PM2.5 ในประเทศไทย
เมื่อฝุ่น PM2.5 ได้กลายเป็นวาระแห่งชาติที่มีแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน มาตรการสำคัญที่ท้าทายศักยภาพของรัฐบาลในการจัดการมลพิษทางอากาศอย่างยั่งยืน คือ จะลดมลพิษจากแหล่งกำเนิดอย่างไร และหนึ่งในบรรดามลพิษทางอากาศหลัก(Criteria Pollutants) นั้นคือ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ซึ่งเป็นสารตั้งต้น(precursor) ตัวสำคัญของฝุ่น PM2.5
-
ภาพน่าประทับใจของ #ClimateStrike ทั่วโลก
เมื่อผืนป่าในหลายประเทศกำลังถูกเพลิงเผาผลาญ น้ำแข็งในขั้วโลกกำลังละลาย ความมั่นคงทางอาหารและการเข้าถึงน้ำสะอาดของมนุษย์กำลังถูกคุกคาม หรือสัตว์หลายสายพันธุ์กำลังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ นี่คือความจริงที่แสนจะน่ากลัวที่กำลังเกิดขึ้นจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ เมื่อเดือนกันยายนปี พ.ศ. 2561 นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลกได้ออกคำเตือนต่อมนุษยชาติว่าเรามีเวลาไม่ถึง 12 ปี (หากนับปีนี้จะเป็น 11 ปี) ในการลงมืออย่างจริงจังเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เลวร้ายที่สุดของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรากำลังอยู่ในจุดพลิกผันแห่งประวัติศาสตร์ของวิกฤตสภาพภูมิอากาศร่วมกัน และเมื่อ วันที่ 20 และ 27 กันยายนที่ผ่านมา เยาวชนทั่วโลกต่างหยุดเรียนเพื่อเรียกร้องให้มีการลงมือปกป้องสภาพภูมิอากาศ และนี่คือภาพบรรยากาศกิจกรรม Climate Strike ที่เกิดขึ้นกว่า 150 ประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย