All articles
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
ดาวน์โหลดเอกสาร ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
-
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
-
จุดเริ่มต้นของกรีนพีซในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในปี 2543 กรีนพีซตั้งสำนักงานที่กรุงเทพฯ และกรุงมะนิลา (ฟิลิปปินส์) ในนาม ‘กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Greenpeace Southeast Asia - GPSEA) ขณะนั้น เป็นกลุ่มคนเล็กๆ ที่ร่วมกันสร้างอนาคตที่ปลอดมลพิษในภูมิภาคนี้
-
‘อากาศสะอาดคือสิทธิของประชาชน’ ถอดบทเรียนประชาชนอินโดนีเซียชนะคดีทวงคืนอากาศบริสุทธิ์จากรัฐ
ย้อนกลับไปเดือนกรกฎาคม ปี 2562 ตัวแทนภาคประชาชนจากหลากหลายอาชีพทั้งวินมอเตอร์ไซค์ นักธุรกิจ ข้าราชการและนักกิจกรรมรวมกว่า 32 คนได้ยื่นฟ้องรัฐบาลว่าด้วยมลพิษทางอากาศเพื่อให้ภาครัฐขยับและจัดการกับปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะในกรุงจาการ์ต้าที่มีคนอาศัยอยู่กว่า 10 ล้านคน
-
50 ปี กรีนพีซ การเดินทางที่เป็นจุดเริ่มต้น
ย้อนดูไทม์ไลน์เหตุการณ์สำคัญที่ผ่านมาตลอด 50 ปีของกรีนพีซ จากการเดินทางแรกที่เป็นจุดเริ่มต้นขององค์กร สู่ชัยชนะในการรณรงค์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่น่าจดจำมากมาย
-
กรีนพีซเรียกร้องกรมควบคุมมลพิษให้ประเมินผลและทบทวน Roadmap การจัดการขยะพลาสติก ระบุ Roadmap ไร้ทิศทางและสวนทางกับเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
บทวิพากษ์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
บทวิพากษ์ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ.2561-2573)
การวิเคราะห์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
ปัว เล เปง: ด่านหน้าผู้ปกป้องมาเลเซียจากวิกฤตมลพิษพลาสติก
ปัว เล เปง (Pua Lay Peng)เป็นแกนนำเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่า Kuala Langat Environmental Action Group ซึ่งออกมาเรียกร้องทางโลกออนไลน์ถึงปัญหาการนำเข้าขยะพลาสติกในเมืองเจนจารอม ของรัฐเซลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย
-
จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าทะเลไม่มีสัตว์น้ำวัยอ่อน?
“เคยไปยืนชายทะเลไหม มองไปที่ทะเลกว้างใหญ่ไพศาลเลยใช่ไหม แล้วมันจะจับปลาที่มีในนั้นได้หมดเหรอ” อาจารย์มุกถามขึ้นระหว่างอธิบายถึงความเชื่อที่ว่า “ปลาทะเลไทย กินเท่าไรก็ไม่หมด”
-
เฮอริเคนไอดาในนิวยอร์ก สัญญาณเตือน วิกฤตสภาพภูมิอากาศ เข้าใกล้เรามากขึ้น
หลังเฮอริเคนไอด้าพักถล่มมหานครนิวยอร์กแสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากเฮอริเคนต่อระบบสาธารณูปโภคและการคมนาคม อีกทั้งยังสะท้อนให้เห็นอีกว่าโลกของเรายังไม่พร้อมที่จะรับมือกับภัยพิบัติที่จะเกิดบ่อยและรุนแรงขึ้นจากสภาพอากาศแปรปรวนสุดขั้วซึ่งมีสาเหตุจากการนำเชื้อเพลิงฟอสซิลมาใช้ เป็นตัวการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ